ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}{{Infobox spaceflight|name=''วอยเอจเจอร์ 1 (Voyager 1)''|image=Voyager_spacecraft.jpg|image_caption=ภาพจำลองของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1''|image_alt=|mission_type=การสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก อวกาศชั้นเฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาวฤกษ์|operator=[[Fileไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]] / JPL|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov/}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
*<small>สำรวจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน
*สำรวจช่องว่างระหว่างดาวฤกษ์: {{Age in years, months and days|year=1980|month=12|day=14}} (อยู่ระหว่างดำเนินการ)</small>}}|spacecraft_type=|manufacturer=[[Fileไฟล์:Jet Propulsion Laboratory logo.svg|20px]] Jet Propulsion Laboratory (JPL)|dry_mass=|launch_mass={{convert|825.5|kg|abbr=on}}|power=470 วัตต์ (วันที่ปล่อยยาน)|launch_date=5 กันยายน ค.ศ. 1977, 12:56:00 UTC|launch_rocket=[[Titan IIIE]]|launch_site={{flagicon|USA}} ฐานปล่อยจรวดที่ 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]]|launch_contractor=|last_contact=<!-- {{end-date|[date]}} -->|decay_date=|interplanetary={{Infobox spaceflight/IP
| type = flyby
| object = [[ดาวพฤหัสบดี]]
บรรทัด 20:
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็นยานสำรวจอวกาศแบบไร้คนขับซึ่งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ[[สหรัฐ]]หรือองค์การ[[นาซา]] (The National Aeronautics and Space Administration: NASA) ได้ทำการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นเวลา 16 วันหลังการปล่อยยานฝาแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ({{lang-en|''Voyager 2''}}) ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] ปัจจุบันยานสำรวจปฎิบัติปฏิบัติงานอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานถึง {{Age in years, months and days|year=1977|month=09|day=05}} ซึ่งยังคงสื่อสารกับ[[โลก]]ผ่านทาง[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network: DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับมา ด้วยระยะห่างของยานสำรวจที่อยู่ห่างจากโลกราว 145 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (21.7 พันล้านกิโลเมตร, 13.5 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 2019<ref name="voyager">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=[[Jet Propulsion Laboratory]]|publisher=[[National Aeronautics and Space Administration]]|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref> จึงถือได้ว่าเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ เดิมทีแล้วมีการวางเส้นทางโคจรของยานเพื่อบินเฉียด[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน แต่ภายหลังมีการเปลี่ยนเป็นการบินเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq3">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD3">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์เหล่านี้อีกด้วย
บรรทัด 479:
{{Clear}}
<gallery mode="packed" heights="180">
Fileไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 thumbnail 300px max quality.ogv|วิดีโอลำดับเวลาการบินเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ([[:ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 max quality.ogv|ดูวิดีโอฉบับเต็ม]])
Fileไฟล์:Great Red Spot From Voyager 1.jpg|ภาพถ่าย[[จุดแดงใหญ่]] (Great Red Spot) บนดาวพฤหัสบดีซึ่งเป็นพายุขนาดยักษ์หมุนทวนเข็มนาฬิกาที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
Fileไฟล์:Volcanic crater with radiating lava flows on Io.jpg|ภาพถ่ายลาวาซัลเฟอร์ปริมาณมหาศาลไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟรา พาทีรา (Ra Patera) บนดวงจันทร์ไอโอ
Fileไฟล์:Vulcanic Explosion on Io.jpg|ภาพถ่ายการปะทุของภูเขาไฟโลกิ พาทีรา (Loki Patera) ความสูง 160 กิโลเมตรจากพื้นผิวดวงจันทร์ไอโอ
Fileไฟล์:PIA01970.jpg|ภาพถ่ายเส้นริ้วบนพื้นผิวดวงจันทร์ยูโรป้า เผยให้เห็นถึงพื้นผิวที่ยังมีการเคลื่อนตัวอยู่ ถจากระยะ 2.8 ล้านกิโลเมตร
Fileไฟล์:Ganymede - PIA02278.jpg|ภาพถ่ายจุดสีขาวแสดงพื้นผิวที่โดนทำลายทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์[[แกนีมีด (ดาวบริวาร)|แกนีมีด]] จากระยะ 253,000&nbsp;กิโลเมตร
</gallery>
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Jupiter system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Jupiter encounter}}}}
บรรทัด 502:
{{Clear}}
<gallery mode="packed" heights="180">
Fileไฟล์:Crescent Saturn as seen from Voyager 1.jpg|ภาพถ่ายรูปเสี้ยวของดาวเสาร์ที่ระยะห่าง 5.3&nbsp;ล้านกิโลเมตร (4 วันหลังการเข้าใกล้ระยะใกล้สุด)
Fileไฟล์:Voyager1-saturn-f-ring.jpg|ภาพถ่ายแนวแคบของวงแหวนดาวเสาร์ที่มีลักษณะเป็นเกลียวบิด
Fileไฟล์:Voyager 1 - view of Saturn's moon Mimas.jpg|ภาพถ่ายดวงจันทร์[[ไมมัส (ดาวบริวาร)|ไมมัส]] (Mimas) ที่ระยะห่าง 425,000&nbsp;กิโลเมตร ด้านขวาบนคือปล่องภูเขาไฟเฮอร์เชล (Herschel)
Fileไฟล์:Tethys - PIA01974.jpg|ภาพถ่ายดวงจันทร์[[ทีทิส (ดาวบริวาร)|ทีทิส]] (Tethys) และแนว[[หุบเขาทรุด]] อิธากา ชาสมา (Ithaca Chasma) จากระยะ 1.2&nbsp;ล้านกิโลเมตร
Fileไฟล์:Dione from Voyager 1.jpg|ภาพถ่ายรอยแตกบนพื้นผิวดวงจันทร์[[ไดโอนี]]
Fileไฟล์:Rhea - PIA02270.jpg|ภาพถ่ายพื้นผิวน้ำแข็งของดวงจันทร์[[รีอา (ดาวบริวาร)|รีอา]] (Rhea) ประกอบกับหลุมอุกกาบาต
Fileไฟล์:Titan's thick haze layer-picture from voyager1.jpg|ภาพถ่ายชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นของดวงจันทร์[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]]
Fileไฟล์:Titan Haze.jpg|ภาพถ่ายรายละเอียดของกลุ่มเมฆของดวงจันทร์[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]]ที่ประกอบไปด้วยสารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อน
</gallery>
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Saturn system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Saturn encounter}}}}