ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นพเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎พระพฤหัสบดี: พฤหัสบดี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Thyj (คุย | ส่วนร่วม)
ภาพเสรี
บรรทัด 4:
 
== พระอาทิตย์ ==
[[ไฟล์:Surya graha.jpgJPG|thumb|120px|พระอาทิตย์]]
{{main|พระอาทิตย์}}
'''พระอาทิตย์''' ([[เทวนาครี]]: सूर्य, สูรยะ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง มีอำนาจเหนือกว่าเทวดานพเคราะห์ทั้งหลาย ในคติไทย พระอาทิตย์ถูกสร้างขึ้นมาจากราชสีห์ 6 ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีแดง]] แล้วเสก ได้เป็นพระอาทิตย์ มีสีวรกายแดง ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และแสดงถึงสระทั้งหมดในภาษาบาลี (อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ)
บรรทัด 13:
 
== พระจันทร์ ==
[[ไฟล์:Chandra graha.jpgJPG|thumb|140px|พระจันทร์]]
{{main|พระจันทร์}}
 
'''พระจันทร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: चंद्र) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระจันทร์ถูกสร้างขึ้นมาจากเทวธิดา (นางฟ้า) ๑๕ องค์ บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีขาว]]นวล แล้วเสกได้เป็นพระจันทร์ มีสีวรกายขาวนวล ทรงอาชา ([[ม้า]]) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออก และแสดงถึงอักษรวรรค กะ (ก ข ค ฅ ฆ ง )
 
พระจันทร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางนุ่มนวลอ่อนโยน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันจันทร์ หรือมีพระจันทร์สถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีอารมณ์อ่อนโยน เพ้อฝัน รวนเร (แต่อาจมีเล่ห์เหลี่ยมมาก) ตามนิทานชาติเวร พระจันทร์เป็นมิตรกับ[[พระพุธ]] และเป็นศัตรูกับ[[พระพฤหัสบดี]]
บรรทัด 23:
 
== พระอังคาร ==
[[ไฟล์:MangalaAngraka graha.jpgJPG|130px|thumb|พระอังคาร]]
{{main|พระอังคาร}}
'''พระอังคาร''' ([[เทวนาครี]]: मंगल, มังคละ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากมหิงสา ([[ควาย]]) ๘ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีชมพู]]หม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)
บรรทัด 32:
 
== พระพุธ ==
[[ไฟล์:BhuthanBudha graha.jpgJPG|130px|thumb|พระพุธ]]
{{main|พระพุธ}}
'''พระพุธ''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बुध, พุธ) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง ในคติไทย พระพุธถูกสร้างขึ้นมาจากคชสาร ([[ช้าง]]) ๑๗ เชือก บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีเขียว]]ใบไม้ แล้วเสกได้เป็นพระพุธ มีพระวรกายเขียว ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ฏะ ใหญ่ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ)
บรรทัด 41:
 
== พระพฤหัสบดี ==
[[ไฟล์:Brihaspati graha.jpgJPG|130px|thumb|พระพฤหัสบดี]]
{{main|พระพฤหัสบดี}}
'''พระพฤหัสบดี''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बृहस्पति , พฤหัสบดี) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระพฤหัสบดีถูกสร้างขึ้นมาจากฤษี ๑๙ ตน บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีเหลืองส้ม แล้วเสกได้เป็นพระพฤหัสบดี มีสีวรกายส้มแดง ทรงมฤค ([[กวาง]]) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตก และแสดงถึงอักษรวรรค ปะ (บ ผ พ ภ ม) พระพฤหัสบดีจัดว่าเป็นครูของ[[เทวดา]]ทั้งหลาย จึงนิยมทำพิธีไหว้ครูในวันพฤหัสบดี
 
พระพฤหัสบดีเป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลดังเช่นนิสัยแห่งพระฤษี นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันพฤหัสบดี หรือมีพระพฤหัสบดีสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักทำอะไรด้วยความระมัดระวัง สุขุมรอบคอบ เมตตาปรานีต่อผู้อื่น ตามนิทานชาติเวร พระพฤหัสบดีเป็นมิตรกับ[[พระอาทิตย์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระจันทร์]]
บรรทัด 50:
 
== พระศุกร์ ==
[[ไฟล์:SukraShukra graha.jpgJPG|130px|thumb|พระศุกร์]]
 
{{main|พระศุกร์}}
'''พระศุกร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बृहस्पति) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระศุกร์ถูกสร้างขึ้นมาจากคาวี ([[วัว]]) ๒๑ ตัว (บางตำรากล่าวว่าสร้างจากเทพยาธร-ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีฟ้า]]อ่อน แล้วเสกได้เป็นพระศุกร์ มีสีวรกายฟ้า ทรงคาวีเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศเหนือ และแสดงถึงเศษวรรคที่ ๒ (ส ห ฬ อ) พระศุกร์จัดเป็นครูของพวกยักษ์ ซึ่งตรงข้ามกับพระพฤหัสบดีที่เป็นครูของเทพ
เส้น 60 ⟶ 59:
 
== พระเสาร์ ==
[[ไฟล์:SoraShani graha.jpgJPG|130px|thumb|พระเสาร์]]
{{main|พระเสาร์}}
'''พระเสาร์''' ([[เทวนาครี]]: शनि, ศนิ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเสาร์ถูกสร้างขึ้นมาจากพยัคฆ์ ([[เสือ]]) ๑๐ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีดำ]] แล้วเสกได้เป็นพระเสาร์มีสีวรกายดำคล้ำ ทรงพยัคฆ์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ตะ เล็ก (ต ถ ท ธ น)
 
พระเสาร์เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางรุนแรง นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันเสาร์หรือมีพระเสาร์สถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีกิริยาดุดัน แข็งแรง กล้าได้กล้าเสีย บุคลิกเคร่งขรึม ตามนิทานชาติเวร พระเสาร์เป็นมิตรกับ[[พระราหู]]และเป็นศัตรูกับ[[พระศุกร์]]
เส้น 69 ⟶ 68:
 
== พระราหู ==
[[ไฟล์:Rahu graha.JPG|130px|thumb|พระราหู]]
{{main|พระราหู}}
'''พระราหู''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: राहु) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย
บรรทัด 80:
 
เมื่อทั้ง ๓ พี่น้องได้มาเกิดเป็นเทวดานพเคราะห์ พระอาทิตย์จึงมีรัศมีและวรรณะเปล่งปลั่งดุจทองคำ พระจันทร์มีรัศมีและวรรณะเป็นสีขาวสว่างดุจเงิน และพระราหูมีรัศมีและวรรณะเป็นสีนิลออกไปทางทองแดง (แต่ในบางตำราก็ว่ากายของพระราหูนั้นมีสีดำบ้าง สีทองบ้าง แตกต่างกันไป)
=== สาเหตุที่พระราหูมีกายเพียงครึ่งท่อน ===
 
=== สาเหตุที่พระราหูมีกายเพียงครึ่งท่อน ===
มีเรื่องเล่าว่า เมื่อครั้งที่เหล่าเทวดาได้ทำพิธีกวนเกษียรสมุทรเพื่อให้ได้น้ำอัมฤตนั้นมีทั้งเทวดาและยักษ์ทั้งหลายเข้าร่วมทำพิธี พระราหูได้แอบอยู่ในกลีบเมฆ เมื่อทำพิธีสำเร็จพระราหูจึงรีบลอบดื่มน้ำอัมฤตที่เกิดขึ้นนั้น พระอาทิตย์และพระจันทร์ได้เห็นเข้าจึงรีบเอาความนั้นไปทูลบอก[[พระนารายณ์]]หรือ[[พระวิษณุ]] พระนารายณ์ทราบจึงขว้างจักรตัดไปถูกกลางตัวพระราหูขาดกลายเป็นสองท่อน แต่ด้วยว่าน้ำอัมฤตที่พระราหูได้ดื่มนั้นไหลไปจนถึงกลางตัวพระราหูแล้วพอดี ครึ่งบนของพระราหูที่ถูกตัดออกจึงกลายเป็นอมตะ ส่วนครึ่งร่างนั้นได้กลายมาเป็นพระเคราะห์องค์ที่ ๙ แห่งเหล่าเทวดานพเคราะห์ซึ่งก็คือ [[พระเกตุ]]
 
บรรทัด 89:
 
== พระเกตุ ==
[[ไฟล์:Ketu graha.jpgJPG|130px|thumb|พระเกตุ]]
{{main|พระเกตุ}}
'''พระเกตุ''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: केतु) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเกตุถูกสร้างจากหางของ[[พระราหู]] เนื่องจากพระราหูแอบไปขโมยน้ำอมฤตที่เทวดาได้กวนไว้ดื่ม [[พระอินทร์]]โกรธจึงขว้างจักรตัดเอวพระราหู เดชะฤทธิ์[[น้ำอมฤต]] พระราหูจึงไม่ตาย และกลับไปยังวิมานเดิม หางที่ขาดนั้นเองก็กลายเป็นพระเกตุ ประจำในทิศท่ามกลาง ให้ผลเป็นกลาง ๆ ในการพยากรณ์ จึงไม่นิยมพิจารณาพระเกตุมากนัก