ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกซ์บอกซ์ (เครื่องเล่นวิดีโอเกม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 39:
และเนื่องจากความนิยมอันมหาศาลของเครื่องเล่นวิดีโอเกมในประเทศญี่ปุ่น ไมโครซอฟท์จึงชะลอการเปิดตัวเอกซ์บอกซ์ในทวีปยุโรปก่อน เพื่อมุ่งเน้นการทำตลาดไปยังตลาดเครื่องเล่นเกมในญี่ปุ่นก่อน ซึ่งแม้ว่าการเปิดตัวในยุโรปจะล้าช้า ก็ได้รับการพิสูจน์ทางยอดขายแล้วว่าประสบความสำเร็จมากกว่าการจัดจำหน่ายเครื่องเอกซ์บอกซ์ในประเทศญี่ปุ่น
 
กลยุทธ์ของไมโครซอฟท์เพื่อจัดจำหน่ายเอกซ์บอกซ์มีประสิทธิภาพอย่างมาก อย่างเช่นในการเตรียมการสำหรับจัดจำหน่าย ไมโครซอฟท์เข้าซื้อ[[บันจี]]และใช้เกม''เฮโล: คอมแบท อีโวลด์'' เป็นเกมวางจำหน่ายพร้อมเครื่อง เนื่องจากในเวลานั้นวิดีโอเกมชุด ''พยัคฆ์ร้าย[[โกลเด้นอาย 007 รหัสลับทลายโลก(วิดีโอเกม พ.ศ. 2540)|โกลเด้นอาย 007]]'' สำหรับ [[นินเทนโด 64]] เป็นหนึ่งในเกมแนวมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในระดับทั่วไปที่ปรากฏในเครื่องเล่นวิดีโอเกมเช่นเดียวกับเกม ''เพอร์เฟค ดาร์ก'' และ ''[[เมดัล ออฟ ออเนอร์ดัลออฟออเนอร์]]'' โดย ''เฮโล: คอมแบท อีโวลด์ทอิวอลฟด์'' กลายเป็นวิดีโอเกมที่เป็นปัจจัยสำคัญให้เอกซ์บอกซ์ขายได้ดี<ref name="xboxtimeline1" /> และส่งผลให้ในปี 2545 ไมโครซอฟท์ได้ก้าวสู่การเป็นผู้ผลิตเครื่องเล่นเกมอันดับสองในตลาดอเมริกาเหนือ นอกจากนี้บริการเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์ยังทำให้ไมโครซอฟท์สามารถตั้งหลักในการเล่นเกมออนไลน์และช่วยให้เอกซ์บอกซ์กลายเป็นคู่แข่งกับเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่หกเครื่องอื่น ๆ ได้
 
=== การโปรโมท ===