ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐศาสตร์จุลภาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับเนื้อหา ให้ไม่เป็น glossary สรุปเนื้อหาทฤษฎี และเพิ่มอ้างอิง
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
แก้บทนำ
บรรทัด 1:
{{เศรษฐศาสตร์}}
[[ไฟล์:Supply-and-demand.svg|thumb|โมเดล[[อุปสงค์และอุปทาน]]อธิบายการเปลี่ยนแปลงของราคาซึ่งเป็นผลจากสมดุลระหว่างปริมาณสินค้าซึ่งถูกเสนอขายที่ราคาแต่ละราคา (อุปสงค์) และความต้องการซื้อที่ราคาแต่ละราคา (อุปทาน)]]
'''เศรษฐศาสตร์จุลภาค''' ({{lang-en|microeconomics}}) เป็นสาขาของ[[เศรษฐศาสตร์]]ซึ่งศึกษาการตัดสินใจในระดับบุคคลหรือองค์กรธุรกิจ และความสัมพันธ์ของการตัดสิดใจของแต่ละฝ่าย<ref name="Palgrave Microeconomics" /><ref name="Tubaro 2015" /> เศรษฐศาสตร์จุลภาคแตกต่างจาก[[เศรษฐศาสตร์มหภาค]] ที่พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางเศรษฐกิจในระดับมวลรวม เช่น [[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ|ผลิตภัณฑ์มวลรวม]] [[ภาวะเงินเฟ้อ|อัตราเงินเฟ้อ]] [[การว่างงาน|อัตราการว่างงาน]] เป็นต้น
'''เศรษฐศาสตร์จุลภาค''' ({{lang-en|microeconomics}}) เป็น[[เศรษฐศาสตร์]]สาขาหนึ่งซึ่งศึกษาพฤติกรรมของบุคคลและบริษัท ในด้านการตัดสินใจที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลและบริษัท<ref> {{cite web|url=http://www.ca.uky.edu/agc/pubs/aec/aec75/aec75.htm |title=Macroeconomic and International Policy Terms |accessdate=2007-05-04 |last=Marchant |first=Mary A. |coauthors= Snell, William M. |publisher=University of Kentucky}}</ref>
 
จุดประสงค์หัวข้อศึกษาหลักข้อหนึ่งของเศรษฐศาสตร์จุลภาคคือการวิเคราะห์ศึกษากลไกการทำงานของ[[ตลาด (เศรษฐศาสตร์)|ตลาด]] ซึ่งเป็นตัวกำหนด[[ราคา|ราคาเปรียบเทียบ]]ระหว่างของสินค้าและบริการต่างๆ และการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อใช้ในทางเลือกต่าง ๆสินค้าเหล่านั้นให้กับแต่ละฝ่าย แบบจำลองเศรษฐศาสตร์จุลภาคแสดงเงื่อนไขที่ว่าตลาดเสรีจะนำไปสู่ มีฐานเริ่มต้นเป็นการจัดสรรตัดสินใจของแต่ละผู้บริโภคแต่ละคนที่เหมาะสมต้องการตัดสินใจเพื่อให้ได้รับ[[อรรถประโยชน์]]สูงสุด และยังศึกษาเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจที่ต้องการ[[ความล้มเหลวของตลาดกำไร]]สูงสุด ซึ่งแบบจำลองเศรษฐศาสตร์จุลภาค มักมีพื้นฐานเป็นสถานการณ์ปัญหา[[การเลือกที่ตลาดไม่สามารถทำให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพได้ เหมาะที่สุด]]ทางคณิตศาสตร์
 
นักเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคเพื่อศึกษาหัวข้อเฉพาะทางต่างๆ เช่น ตลาดแรงงาน สาธารณสุข การศึกษา เป็นต้น
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นขั้วตรงข้ามของ[[เศรษฐศาสตร์มหภาค]] ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลรวมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโต เงินเฟ้อ และการว่างงาน และนโยบายระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเหล่านี้ เศรษฐศาสตร์จุลภาคก็รับมือกับผลของนโยบายบางอย่างเช่นกัน (อาทิการเปลี่ยนแปลงในระดับภาษี) ในสภาพและมุมมองๆ ต่างของเศรษฐกิจ ในช่วงที่ข้อวิพากษ์ของลูคัสเป็นที่ยอมรับ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคสมัยใหม่ อาศัย[[รากฐานจุลภาค]] หรือคือการอ้างอิงจากข้อสมมติฐานเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพฤติกรรมระดับจุลภาค
 
== การจำแนกเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ==