ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาแมกเคอเรล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ+บทความเดิม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 9:
| caption1 = <center>การประมงพาณิชย์ทั่วโลก หน่วยเป็นล้านตัน<br />ตามรายงานของ [[FAO]] ปี 1950-2009<ref name=FAOdata>ข้อมูลจาก [http://www.fao.org/fishery/species/search/en FAO Species Fact Sheets]</ref> '''(เขียว)''' ปลาแมกเคอเรลใน[[วงศ์ปลาอินทรี]] '''(น้ำเงิน)''' ปลาแมกเคอเรลนอกวงศ์ปลาอินทรี</center>
}}
'''ปลาแมกเคอเรล''' ({{lang-en |mackerel}} {{audio |En-us-mackerel.ogg|ฟังการออกเสียง}}) เป็น[[ชื่อสามัญ]]ของปลาผิวน้ำ (pelagic fish) ทะเลหลาย[[สปีชีส์]]โดยมากจาก[[วงศ์ปลาอินทรี]] (Scombridae)
แต่ปลาคล้ายปลาแมกเคอเรลใน[[วงศ์ปลาหางแข็ง]], วงศ์ Hexagrammidae และวงศ์ Gempylidae ก็เรียกว่าปลาแมกเคอเรลด้วย
เป็นปลาพบทั้งในทะเลเขตอบอุ่นและ[[เขตร้อน]] ทั้งตาม[[ชายฝั่ง]]และนอกชายฝั่งใน[[มหาสมุทร]]
บรรทัด 26:
เนื้อปลาแมกเคอเรลมี[[กรดไขมันโอเมกา-3]] สูง ดังนั้น มนุษย์ก็จึงล่ามันมาก สามารถนำมาทำเป็น[[ปลากระป๋อง]] โดยเก็บเนื้อปลาใน[[ซอสมะเขือเทศ]] ซึ่งเป็น[[การถนอมอาหาร]]อย่างหนึ่ง
ในปี 2009 มีการประมงปลาทางพาณิชย์ถึง {{nowrap |5 ล้านตัน}}<ref name=FAOdata />
ส่วนคนจับปลาเป็นกีฬาก็ชื่นชอบความช่างสู้ของปลา king mackerel (''Scomberomorus cavalla)'')<ref>{{cite book | year = 2008 | title = King mackerel | edition = 11th | work = Merriam-Webster's Collegiate Dictionary | publisher = Merriam Webster | isbn = 9780877798095 | pages = 688 | url = https://books.google.com/books?id=TAnheeIPcAEC&pg=PA688&dq=%22king+mackerel%22++%22sport+fish%22&hl=en&sa=X&ei=kdOAT8qUItHAmQW7g7DvBw&ved=0CD4Q6AEwAQ#v=onepage&q=%22king%20mackerel%22%20%20%22sport%20fish%22&f=false }}</ref>
 
__TOC__
บรรทัด 34:
มีปลากว่า 30 [[สปีชีส์]] โดยหลักอยู่ใน[[วงศ์ปลาอินทรี]] (Scombridae) ที่ปกติเรียกว่าปลาแมกเคอเรล
คำ[[ภาษาอังกฤษ]]ตั้งแต่ปี 1300 ว่า "mackerel" หมายความว่า "มีเครื่องหมาย" หรือ "ด่างพร้อย" ได้มาจากคำฝรั่งเศสเก่า (Old French) คือ ''maquerel'' ซึ่งหมายถึง "แมงดา" หรือ "ผู้จัดหา" (หญิงเพื่อจุดประสงค์ทางเพศ)
แม้นี่จะเชื่อมกับลักษณะของปลาได้อย่างไม่ชัดเจน แต่ปลาก็วางไข่อย่างขะมักเขม้นเป็นฝูง ๆ ใกล้ฝั่ง และแนวคิดใน[[สมัยกลาง]]เกี่ยวกับ[[การสืบพันธุ์]]ของสัตว์ก็ค่อนข้างสร้างสรรค์<ref>{{cite web | title = Mackerel | url = https://www.etymonline.com/word/mackerel | publisher = Online Etymology Dictionary | accessdate = 2012-03-03 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20181222125413/https://www.etymonline.com/word/mackerel | archivedate = 2018-12-22 | deadurl = no}}</ref>
 
=== วงศ์ปลาอินทรี ===
บรรทัด 58:
! หนักสุด<br/>(กก.)
! อายุมากสุด
! ระดับใน<br/>[[โซ่อาหาร]]
! Trophic<br/>level
! Fish<br />Base
! [[FAO]]
บรรทัด 157:
! หนักสุด<br/>(กก.)
! อายุมากสุด
! ระดับใน<br/>[[โซ่อาหาร]]
! Trophic<br/>level
! Fish<br />Base
! [[FAO]]
บรรทัด 410:
! หนักสุด<br/>(กก.)
! อายุมากสุด (ปี)
! ระดับใน<br/>[[โซ่อาหาร]]
! Trophic<br/>level
! Fish<br />Base
! [[FAO]]
บรรทัด 417:
| align = "center" rowspan=1 |[[วงศ์ปลาอินทรี]]<br /><small>''Gasterochisma''</small>
| Butterfly mackerel
| ''Gasterochisma melampus'' <small>(Richardson, 1845)</small>
| align = "right" | 175
| align = "right" | 153
บรรทัด 427:
| align = "center" | [[ไฟล์:LC IUCN 3 1.svg|Least concern]] <small>Least concern</small><ref name=IUCNgasterochisma>{{IUCN2012.2 | assessor = Collette, B. | assessor2 = Boustany, A. | assessor3 = Carpenter, K.E. | assessor4 = Di Natale, A. | assessor5 = Fox, W. | assessor6 = Graves, J. | assessor7 = Juan Jorda, M. | assessor8 = Miyabe, N. | assessor9 = Nelson, R. | assessor10 = Oxenford, H. | display-assessors = etal | year = 2011 | id = 170340 | title = Gasterochisma melampus | downloaded = 2012-10-22}}</ref>
|-
| align = "center" rowspan=1110 |[[วงศ์ปลาหางแข็ง]]<br /><small>Jack mackerel</small>
| Atlantic horse mackerel
| ''Trachurus trachurus'' <small>(Linnaeus, 1758)</small>
บรรทัด 535:
| align = "center" | 4.5
| align = "center" |<ref>{{FishBase species | genus = Trachurus | species = novaezelandiae | month = March | year = 2012}}</ref>
| align = "center" |
| align = "center" | <small>Not assessed</small>
|-
| [[ปลาหางแข็ง]]
| ''Megalaspis cordyla'' <small>(Bleeker, 1851)</small>
| align = "right" | 80
| align = "right" | <40
| align = "right" | 4
| align = "right" |
| align = "center" |
| align = "center" |<ref>{{FishBase species | genus = Megalaspis | species = cordyla | month = March | year = 2012}}</ref>
| align = "center" |
| align = "center" | <small>Not assessed</small>
เส้น 662 ⟶ 651:
 
ลายเด่นที่หลังปลาอาจดูเหมือนจะเพื่อพรางตัวไม่ให้แตกต่างกับพื้นหลังรอบ ๆ ปลา
แต่จริง ๆ ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะปลาอยู่ในเขตผิวน้ำต่ำลึกกลาง ๆ (midwater pelagic) ซึ่งไม่ปรากฏพื้นหลัง<ref name=Denton1998>{{cite journal | last1 = Denton | first1 = EJ | last2 = Rowe | first2 = DM | year = 1998 | url = https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1689176/pdf/1BMRWL258MU1VG6M_265_1051.pdf | format = [[PDF]] | title = Bands against stripes on the backs of mackerel, ''Scomber scombrus'' L." | journal = Proc. R. Soc. Lond. B | volume = 265 | pages = 1051-1058 }} </ref>
แต่ปลามี[[รีเฟล็กซ์]]ตามมองวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ (optokinetic reflex) เป็นระบบการเห็นที่ไวต่อลายซึ่งกำลังเคลื่อนที่<ref>{{cite journal | last1 = Shaw | first1 = E | last2 = Tucker | first2 = A | year = 1965 | title = The optomotor reaction of schooling carangid fishes | url = http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/0003347265900527 | journal = Animal Behaviour | volume = 13 | issue = 2-3 | pages = 330-336 | doi = 10.1016/0003-3472(65)90052-7}}</ref>
เพราะถ้าปลาจะอยู่เป็นฝูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะต้องมีกลไกลช่วยวางตัวให้เข้ากับปลาใกล้ ๆ และให้ว่ายน้ำเร็วเท่ากัน
ลายของปลาใกล้ ๆ จึงเป็น "schooling marks" (สัญญาณฝูง) ซึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณให้รู้ถึงตำแหน่งโดยเปรียบเทียบ<ref name=Denton1998 /><ref name="Bone">{{cite book | last1 = Bone | first1 = Q | last2 = Moore | first2 = RH | year = 2008 | url = https://books.google.com/books?id=sLoqT_xWaqoC&dq=%22Biology+of+fishes%22++Bone+Moore&printsec=frontcover&source=bl&ots=7c5U7D9tLs&sig=B1Avu96z9QPOd5CXferheqi8aZQ&hl=en&ei=sYmgSoHoEY7U7AOd2-XmCw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1#v=onepage&q=&f=false | title = Biology of Fishes | publisher = Taylor & Francis Group | pages = 418-422 | isbn = 978-0-415-37562-7}}</ref>
เส้น 680 ⟶ 669:
king mackerel เป็นตัวอย่างปลาแมกเคอเรลที่ใหญ่กว่า
ปลาโดยมากเลือดเย็น แต่ก็มีข้อยกเว้นบ้าง
คือปลาบางสปีชีส์มีอุณหภูมิร่างกายที่สูงกว่า
[[ปลากระดูกแข็ง]][[เลือดอุ่น]]ล้วนอยู่ใน[[อันดับย่อยปลาทูน่า]] (Scombroidei) ซึ่งรวม butterfly kingfish (''Gasterochisma melampus'') อันเป็นปลาแมกเคอเรลรูปแบบดึกดำบรรพ์<ref>{{cite journal | last1 = Block | first1 = BA | last2 = Finnerty | first2 = JR | year = 1993 | title = Endothermy in fishes: a phylogenetic analysis of constraints, predispositions, and selection pressures | journal = Environmental Biology of Fishes | volume = 40 | issue = 3 | pages = 283-302 | doi = 10.1007/BF00002518 }}</ref>
 
เส้น 702 ⟶ 691:
}}
ปลาแมกเคอเรลโดยมากอยู่ในพื้นที่จำกัด<ref name=FAOTuna />
* '''ปลาแมกเคอเรลสแปนิชแอตแลนติก''' ''(Scomberomorus maculatus)'' อยู่ทางฝั่งตะวันออกของ[[อเมริกาเหนือ]]เริ่มตั้งแต่[[เคปค้อด]]ซึ่งอยู่ใต้[[คาบสมุทรยูกาตัน]] มีกลุ่มประชากรแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามเขตภูมิภาค เมื่อใกล้ถึงฤดูร้อน กลุ่มหนึ่งจะอพยพเป็นฝูงใหญ่ไปทางทิศเหนือตามชายฝั่งจาก[[รัฐฟลอริดา]]เพื่อไปวางไข่ในน้ำตื้นที่ชายฝั่ง[[นิวอิงแลนด์]] แล้วก็จะกลับไปอยู่ในน้ำลึกของฟลอริดาในหน้าหนาว ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งอพยพเป็นฝูงใหญ่ตามชายฝั่งจาก[[ประเทศเม็กซิโก]]ไปวางใข่ในน้ำตื้นใน[[อ่าวเม็กซิโก]]ตามชายฝั่งของ[[รัฐเท็กซัส]] แล้วก็จะกลับไปอยู่ในน้ำลึกของเม็กซิโกในหน้าหนาว<ref name=FAOmaculatus /> ปลาสองกลุ่มนี้บริหารจัดการต่างกัน แม้จะเหมือนกับทางพันธุกรรม<ref name=IUCNmaculatus />
* '''ปลาแมกเคอเรลแอตแลนติก''' ''(Scomber scombrus)'' เป็นปลาชายฝั่งที่พบใน[[แอตแลนติกเหนือ]]เท่านั้น แต่กลุ่มในมหาสมุทรด้านตะวันตกจะเป็นอิสระจากกลุ่มประชากรด้านตะวันออก กลุ่มด้านตะวันออกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม[[ทะเลเหนือ]] (North Sea) กลุ่มใต้ (southern) และกลุ่มตะวันตก (western) แต่ละกลุ่มมีรูปแบบอพยพที่ต่างกัน การผสมพันธุ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ด้านมหาสมุทรแอตแลนติกตะวันออกจะเกิดในที่หากินทางด้านทิศเหนือ แต่กลุ่มแอตแลนติกตะวันออกและตะวันตกจะไม่ผสมพันธุ์กัน<ref name=IUCNscombrus /><ref>
{{cite conference | last1 = Uriarte | first1 = A | last2 = Alvarez | first2 = P | last3 = Iversen | first3 = S | last4 = Molloy | first4 = J | last5 = Villamor | first5 = B | last6 = Martíns | first6 = MM | last7 = Myklevoll | first7 = S | date = September 2001 | url = https://brage.bibsys.no/xmlui/bitstream/handle/11250/106167/CM_2001_O_17.pdf?sequence=1&isAllowed=y | format = [[PDF]] | title = Spatial pattern of migration and recruitment of North East Atlantic mackerel | conference = ICES Annual Science Conference | archiveurl = https://web.archive.org/web/20181104043832/https://brage.bibsys.no/xmlui/bitstream/handle/11250/106167/CM_2001_O_17.pdf?sequence=1&isAllowed=y | archivedate = 2018-11-04 | deadurl = no}}</ref><ref>
เส้น 712 ⟶ 701:
 
มีปลา jack mackerel 3 สปีชีส์ที่พบในทะเลชายฝั่งรอบ ๆ [[นิวซีแลนด์]] คือ Greenback horse mackerel, Chilean jack mackerel และ Pacific jack mackerel
ซึ่งมักจะจับด้วยอวนล้อมจับมีสายมาน (purse seine) แต่บริหารเหมือนกับเป็นปลากลุ่มเดียวโดยมีสปีชีส์หลายสปีชีส์<ref>{{cite web | title = Jack Mackerel | url = http://www.forestandbird.org.nz/what-we-do/publications/-best-fish-guide-/jack-mackerel | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120305085537/http://www.forestandbird.org.nz/what-we-do/publications/-best-fish-guide-/jack-mackerel | archivedate = 2012-03-05 | publisher = NZ Forest and Bird | accessdate = 2012-03-13}}</ref>
 
มีปลาแมกเคอเรลบางพันธุ์ที่อพยพขึ้น ๆ ลง ๆ
เส้น 725 ⟶ 714:
นกทะเล Gannet สกุล ''Morus'' และนกทะเลอื่น ๆ กำลังกินปลาแมกเคอเรล
]]
ปลาแมกเคอเรล[[สืบพันธุ์]]โดยปล่อย[[เซลล์สืบพันธุ์]]ลงในน้ำ ซึ่งต้องทำใกล้ผิวน้ำเพราะไข่ของตัวเมียลอยน้ำ
ตัวเมียจะวางไข่ระหว่าง {{nowrap |300,000-1,500,000 ฟอง}}<ref name=FAOTuna />
ไข่และตัวอ่อนของปลาจะลอยตัวเป็นอิสระในน้ำทะเล
เส้น 761 ⟶ 750:
}}
{{clear}}
ปลา Chub mackerel สปีชีส์ ''Scomber japonicus'' เป็นปลาแมกเคอเรลวงศ์ปลาอินทรีที่ตกจับมากที่สุด
เป็นปลาแมกเคอเรลวงศ์ปลาอินทรีครึ่งหนึ่งที่ตกจับได้<ref name=FAOdata />
เป็นปลาที่สับสนได้ง่ายกับปลาแมกเคอเรลแอตแลนติก
Chub mackerel อพยพเป็นระยะทางยาวไกลในมหาสมุทรและข้าม[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]
สามารถจับได้ด้วยอวนลอย (drift net) และอวนลาก (trawl) ที่เหมาะสม แต่ปกติจะจับด้วยอ้วนล้อม (surround net) มากที่สุดช่วงกลางคืนโดยล่อไฟ<ref>{{cite web | title = Chub mackerel | url = http://www.sicilianfishontheroad.com/en/il-pescato-siciliano/il-pesce-azzurro/lanzardo | archiveurl = https://web.archive.org/web/20130313192422/http://www.sicilianfishontheroad.com/en/il-pescato-siciliano/il-pesce-azzurro/lanzardo | archivedate = 2013-03-13 | deadurl = yes | publisher = Sicilian Fish on the Road | accessdate = 2012-04-06 }}</ref>
 
ปลาแมกเคอเรลวงศ์ปลาอินทรีที่จับได้ที่เหลือจะเป็นปลาแมกเคอเรลแอตแลนติกกับปลาแมกเคอเรลวงศ์ปลาอินทรีพันธุ์อื่น ๆ โดยสองกลุ่มนี้จับได้เท่ากัน
ในกลุ่มปลาเพียงแค่ 2 พันธุ์เป็นปลาแมกเคอเรลวงศ์ปลาอินทรี ปลา 75% ที่จับได้มาจากปลาสองพันธุ์<ref name=FAOdata />
Chilean jack mackerel เป็นปลาแมกเคอเรลไม่ใช่ปลาอินทรีที่จับได้มากที่สุด โดยจับมากเท่า ๆ กับ chub mackerel<ref name=FAOdata /><ref name=FAOmurphyi />
สปีชีส์นี้จับมากเกิน และประชากรปลาเสี่ยงว่าจะหมดไปอย่างรวดเร็ว<ref name=nytimes>
{{cite news | title = In mackerel's plunder, hints of epic fish collapse | date = 2012-01-25 | url = https://www.nytimes.com/2012/01/25/science/earth/in-mackerels-plunder-hints-of-epic-fish-collapse.html?_r=1&pagewanted=all | work = The New York Times | archiveurl = https://web.archive.org/web/20181221043313/https://www.nytimes.com/2012/01/25/science/earth/in-mackerels-plunder-hints-of-epic-fish-collapse.html?_r=1&pagewanted=all | archivedate = 2018-12-21 | deadurl = no}}</ref><ref name=iWatch2>
เส้น 811 ⟶ 800:
มีการจับปลาเกินใน[[ทะเลเหนือ]]ทำให้[[ระบบนิเวศ]]ถึงความไม่สมดุลจนกระทั่งคนงานต้องเสียงานเพราะมีปลาไม่พอ<ref>{{cite book | last1 = Clover | first1 = Charles | year = 2004 | title = The End of the Line: How overfishing is changing the world and what we eat | location = London | publisher = Ebury Press | isbn = 0-09-189780-7 }}</ref>
 
[[ไฟล์:Maquereaux etal.jpg|thumb|right|
<center>ปลาแมกเคอเรลแอตแลนติกบนน้ำแข็งในร้านขายปลา</center>
]]
เขตตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐรวม[[อ่าวเม็กซิโก]] [[ทะเลแคริบเบียน]] และ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ด้านตะวันออกเฉียงใต้
เป็นเขตที่เคยจับปลา king mackerel และ atlantic Spanish mackerel มากเกินในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980
จนมีกฎหมายจำกัดการตกจับปลารวมทั้งขนาดปลา บริเวณตกจับปลา และจำนวนปลาทั้งสำหรับผู้ตกจับปลาเป็นพาณิชย์และเป็นกีฬา
อวนติดตา (Gillnet) ก็ห้ามไม่ให้ใช้ในน่านน้ำ[[รัฐฟลอริดา]]
จนกระทั่งประชากรปลาได้กลับคืนมาในปี 2001<ref name="FAO Profile">{{cite web | title = FISHERY COUNTRY PROFILE: THE UNITED STATES OF AMERICA | url = ftp://ftp.fao.org/FI/DOCUMENT/fcp/en/FI_CP_US.pdf | format = [[PDF]] | publisher = [[FAO]] | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170518220246/ftp://ftp.fao.org/FI/DOCUMENT/fcp/en/FI_CP_US.pdf | archivedate = 2017-05-18 | deadurl = yes }}</ref>
 
== เป็นอาหาร ==
[[ไฟล์:Maquereaux etal.jpg|thumb|right|
<center>ปลาแมกเคอเรลแอตแลนติกบนน้ำแข็งในร้านขายปลา</center>
]]
{{บทความหลัก |ปลาแมกเคอเรล (อาหาร)}}
ปลาแมกเคอเรลเป็นอาหารสำคัญที่บริโภคทั่วโลก<ref>{{cite book | ref = harv | title = The California mackerel fishery | last1 = Croker | first1 = Richard Symonds | year = 1933 | url = http://content.cdlib.org/view?docId=kt758005bw&query=&brand=calisphere | publisher = Division of Fish and Game of California | number = Contribution No. 125 from the California State Fisheries Laboratory | pages = 9-10}}</ref>