ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง (Trajectory Correction Maneuver หรือ TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
มีการคาดการณ์ว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะยังสามารถทำภารกิจต่อไปได้จนถึงปี ค.ศ. 2025 หรือจนกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี หรือ (Radioisotope Thermoelectric Generator หรือ RTG) จะจ่ายไฟได้ไม่เพียงพอความต้องการของอุปกรณ์ภายในยาน หลังจากนั้นยานจะลอยคว้างกลายโคจรเป็นวัตถุเร่ร่อนไปในอวกาศ
 
== เบื้องหลังภารกิจ ==
บรรทัด 39:
=== ส่วนประกอบของยานฯ ===
[[ไฟล์:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|left|thumb|169x169px|จานสื่อสารเกณฑ์ขยายสูงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.7 เมตร หรือ 12 ฟุต]]
''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกสร้างขึ้นโดยศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (Jet Propulsion Laboratory หรือ JPL)<ref name="Landau CNN">{{cite news|last=Landau|first=Elizabeth|title=Voyager 1 becomes first human-made object to leave solar system|work=CNN|publisher=CNN|date=October 2, 2013|url=https://www.cnn.com/2013/09/12/tech/innovation/voyager-solar-system/|accessdate=May 29, 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=https://tools.wmflabs.org/makeref/|title=NASA Spacecraft Embarks on Historic Journey into Interstellar Space|work=NASA|date=September 12, 2013|accessdate=May 29, 2014|quote=NASA's Voyager 1 spacecraft officially is the first human-made object to venture into interstellar space.}}</ref><ref name="Trailblazer">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/viking/viking30_fs.html|title=Viking: Trailblazer for All Mars Research|work=NASA|date=June 22, 2006|accessdate=May 29, 2014|quote=All of these missions relied on Viking technologies. As it did for the [[Viking program]] team in 1976, Mars continues to hold a special fascination. Thanks to the dedication of men and women working at NASA centers across the country, the mysterious Mars of our past is becoming a much more familiar place.}}</ref> ตัวยานขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ไฮดราซีน 16 ตัว มี[[ไจโรสโคป]]รักษาตำแหน่งแบบ 3 แกน (three-axis stabilization gyroscopes) และระบบควบคุมยานที่คอยรักษาทิศทางของเสาวิทยุบนยานให้ชี้มายังโลก อุปกรณ์เหล่านี้จะเรียกรวมว่าเป็นระบบควบคุมทิศทางตำแหน่งและตำแหน่งยานเส้นทางโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem หรือ AACS) มาพร้อมกับระบบควบคุมสำรอง และเครื่องยนต์ไอพ่นสำรองอีก 8 ตัว นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ตรวจวัดทางวิทยาศาสตร์รวมกว่า 11 ชุดชิ้นเพื่อใช้ทำการศึกษาเหล่า[[ดาวเคราะห์]]ที่ยานทำการสำรวจโคจรเข้าใกล้<ref name="PDS-Host3">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/|title=VOYAGER 1:Host Information|date=1989|publisher=JPL|accessdate=April 29, 2015}}</ref>
 
==== ระบบการสื่อสาร ====
บรรทัด 54:
 
==== ระบบคอมพิวเตอร์ ====
แทบทุกส่วนของตัวยานทำงานโดยอัตโนมัติผ่านการควบคุมโดยระบบคอมพิวเตอร์ ยกเว้นระบบถ่ายภาพแสงที่มองเห็นได้ (Visible Light) ซึ่งเป็นเพียงระบบเดียวที่ไม่ได้ทำงานแบบอัตโนมัติ แต่จะถูกควบคุมโดยชุดค่าพารามิเตอร์ในระบบย่อยข้อมูลการบิน (Flight Data Subsystem หรือ FDS) ต่างจ่ากกล้องจากกล้องถ่ายภาพในยานสำรวจยุคหลังจากปี ค.ศ. 1990 ที่เปลี่ยนมาใช้ระบบควบคุมแบบอัตโนมัติทั้งหมดแล้ว<ref>{{cite web|url=https://pds-rings.seti.org/voyager/iss/inst_cat_wa1.html|title=pds-rings|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
ระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการ (Computer Command Subsystem หรือ CCS) คอมพิวเตอร์ระบบนี้ประกอบไปด้วยชุดคำสั่งแบบสำเร็จ เช่น ชุดคำสั่งถอดรหัส ชุดคำสั่งตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่อง ชุดคำสั่งควบคุมทิศทางของเสาอากาศ และชุดคำสั่งควบคุมตำแหน่งยาน คอมพิวเตอร์ส่วนนี้เป็นส่วนที่พัฒนามาจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในยานโครงการไวกิ้ง (Viking Program) ช่วงยุค ค.ศ. 1970<ref name="nasa.ch6-2">{{cite web|last=Tomayko|first=James|publisher=NASA|date=April 1987|url=https://history.nasa.gov/computers/Ch6-2.html|title=Computers in Spaceflight: The NASA Experience|accessdate=February 6, 2010}}</ref> ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สำหรับระบบ CCS สำหรับยานสำรวจทั้งหมดในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ มีเพียงการแก้ไขซอฟต์แวร์บ้างเล็กน้อยสำหรับอุปกรณ์ทางวิทศาสตร์วิทยาศาสตร์ที่ต่างกันบางชิ้น{{citation needed|date=February 2016}}
 
ระบบย่อยควบคุมตำแหน่งและทิศทางเส้นทางโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem หรือ AACS) เป็นระบบที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งและทิศทางของตัวยาน คอยควบคุมทิศทางองศาของเสาสัญญาณอากาศยานให้หันชี้มายังโลก ควบคุมการเปลี่ยนตำแหน่ง และบังคับทิศทางของยานเพื่อทำการถ่ายภาพวัตถุและพื้นผิว ระบบ AACS สำหรับยานสำรวจในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ<ref>{{cite web|url=http://www.au.af.mil/au/awc/awcgate/jplbasic/bsf11-2.htm|title=au.af|accessdate=May 23, 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=https://airandspace.si.edu/collections/artifact.cfm?object=nasm_A19990066000|title=airandspace|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
==== เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ ====
บรรทัด 459:
|-
| 28 พฤศจิกายน 2017
| ทำการจุดเครื่องยนต์ปรับตำแหน่งวิถีโค้งควบคุมเส้นทางการโคจร (TCM) อีกครั้งนับตั้งแต่ปี 1980<ref>{{Cite news|url=https://www.nasa.gov/feature/jpl/voyager-1-fires-up-thrusters-after-37|title=Voyager 1 Fires Up Thrusters After 37 Years|last=Greicius|first=Tony|date=2017-12-01|work=NASA|access-date=2017-12-13|language=en}}</ref>
|}
 
=== การปล่อยยานและการเดินทางแบบวิถีโค้งเส้นทางโคจร ===
[[ไฟล์:Titan_3E_with_Voyager_1.jpg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Titan_3E_with_Voyager_1.jpg|left|thumb|207x207px|''วอยเอจเจอร์ 1'' บนส่วนหัวของจรวดนำส่ง Titan IIIE|alt=]]
<br />
บรรทัด 468:
 
{{legend2|magenta|''วอยเอจเจอร์ 1''}}{{·}}{{legend2|Royalblue|[[โลก]]}}{{·}}{{legend2|Cyan|[[ดาวพฤหัสบดี]]}}{{·}}{{legend2|Lime|[[ดาวเสาร์]]}}{{·}}{{legend2|Yellow|[[ดวงอาทิตย์]]}}|alt=]]
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ณ แท่นปล่อยจรวด 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]] ด้วยจรวดนำส่ง [[Titan IIIE]] ประมาณ 2 สัปดาห์หลังการส่งยานสำรวจจาก ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศไปก่อนเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม แม้จะถูกส่งขึ้นอวกาศช้ากว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' แต่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ก็เดินทางถึงดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ได้ก่อน<ref name="nasa.jupiter">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ด้วยเส้นทางวิถีโค้งโคจร (trajectory) ที่สั้นกว่า''<ref name="nasa.planetary">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/planetary.html|title=Planetary voyage|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>''
[[ไฟล์:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|alt=|thumb|แนวการเคลื่อนที่วิถึโค้งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านระบบดาวพฤหัสบดี]]
 
=== บินเฉียดดาวพฤหัสบดี ===
{{Main|การสำรวจดาวพฤหัสบดี}}''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มทำการถ่ายภาพดาวพฤหัสสบดีในปี ค.ศ. 1979 โดยบินเฉียดระยะใกล้มากที่สุดคือที่ระยะห่างประมาณ {{convert|349000|km|mi|abbr=off|sp=us}} จากจุดศูนย์กลางดาวเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979 และด้วยตำแน่งของยานที่อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี ทำให้ได้ภาพถ่ายที่มีรายละเอียดที่มากขึ้น ส่งผลให้ภารกิจการสังเกตการณ์ระบบของดาวพฤหัสบดีซึ่งได้แก่ เหล่าดาวบริวาร วงแหวน สนามแม่เหล็ก และสภาพแวดล้อมของแถบรังสี แวน แอลเลน (Van Allen Belts) เสร็จสิ้นภายใน 48 ชั่วโมงเท่านั้น ภารกิจการถ่ายภาพระบบดาวพฤหัสบดีเสร็จสิ้นลงในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1979
 
การค้นพบภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ (active volcanoes) บนดวงจันทร์[[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ไอโอ]]ถือว่าเป็นการค้นพบที่สร้างความฮือฮาที่สุด นับเป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบภูเขาไฟมีพลังบนดาวดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจากบนโลก อีกทั้งภูเขาไฟที่ครุกรุ่นเหล่านี้ยังส่งอิทธิพลไปยังดาวพฤหัสบดีด้วย ดวงจันทร์ไอโอถือเป็นแหล่งของสสารหลักที่แผ่ไปทั่วชั้นแม็กนีโตสเฟียร์ (บริเวณโดยรอบของดาวฤกษ์ที่ได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงจากสนามแม่เหล็ก) ของดาวพฤหัสบดี โดยมีการค้นพบร่องรอยของ[[ซัลเฟอร์]] [[ออกซิเจน]] และ[[โซเดียม]]ที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟบนดวงจันทร์ไอโอปะปนอยู่ในขอบนอกของชั้นแม็กนีโตสเฟียร์ของดาวพฤหัสบดี<ref name="nasa.jupiter2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำได้เผยการค้นพบที่สำคัญของดาวพฤหัสบดีเป็นจำนวนมาก เช่น เหล่าดาวบริวาร แถบกัมมันตรังสี และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีที่ไม่เคยค้นพบมาก่อน
{{Clear}}
{{Clear}}<gallery mode="packed" heights="180">
</{{gallery>
ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 thumbnail 300px max quality.ogv|alt=ไฟล์:Jupiter_from_Voyager_1_PIA02855_max_quality.ogv|วิดีโอลำดับเวลาการบินเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ([[:ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 max quality.ogv|ดูวิดีโอฉบับเต็ม]])
| align = center
ไฟล์:Great Red Spot From Voyager 1.jpg|alt=The Great Red Spot as seen from Voyager 1|ภาพถ่าย[[จุดแดงใหญ่]] (Great Red Spot) บนดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นพายุขนาดยักษ์หมุนทวนเข็มนาฬิกาที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
| width = 175
ไฟล์:Volcanic crater with radiating lava flows on Io.jpg|alt=View of lava flows radiating from the volcano Ra Patera on Io|ภาพแสดงลาวาซัลเฟอร์ปริมาณมหาศาลไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ [[Ra Patera]] บนดวงจันทร์ไอโอ
| lines = 4
ไฟล์:Vulcanic Explosion on Io.jpg|alt=A volcanic eruption plume rises over the limb of Io|แนวปะทุของภูเขาไฟ [[Loki Patera|Loki]] ความสูง {{convert|160|km|sigfig=1|abbr=on}} จากพื้นผิวของดวงจันทร์ไอโอ
| File:Jupiter_from_Voyager_1_PIA02855_max_quality.ogv
ไฟล์:PIA01970.jpg|alt=Europa as seen from Voyager 1 at a distance of 2.8 million km|แนวเส้นบนพื้นผิวของดวงจันทร์ยูโรป้าที่ไม่ใช่แนวภูเขาไฟ หลักฐานแสดงให้เห็นว่าพื้นผิวยังคงมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ถ่ายจากระยะ 2.8 ล้านกิโลเมตร
ไฟล์:Jupiter | from Voyager 1 PIA02855 thumbnail 300px max quality.ogv|alt=ไฟล์:Jupiter_from_Voyager_1_PIA02855_max_quality.ogv|วิดีโอลำดับเวลาการบินเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ([[:ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 max quality.ogv|ดูวิดีโอฉบับเต็ม]])
ไฟล์:Ganymede - PIA02278.jpg|alt=Icy surface of Ganymede as photographed from 253,000 km|บริเวณพื้นที่สีขาวแสดงพื้นผิวที่โดนทำลายทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์แกนีมีด ถ่ายจากระยะ 253,000&nbsp;กิโลเมตร
| File:Great Red Spot From Voyager 1.jpg
</gallery>
ไฟล์:Great Red Spot From Voyager 1.jpg |alt=The Great Red Spot as seen from Voyager 1|ภาพถ่าย[[จุดแดงใหญ่]] (Great Red Spot) บนดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นพายุขนาดยักษ์หมุนทวนเข็มนาฬิกาที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
| File:Volcanic crater with radiating lava flows on Io.jpg
ไฟล์:Volcanic crater with radiating lava flows on Io.jpg |alt=View of lava flows radiating from the volcano Ra Patera on Io|ภาพแสดงลาวาซัลเฟอร์ปริมาณมหาศาลไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ [[Ra Patera]] บนดวงจันทร์ไอโอ
| File:Vulcanic Explosion on Io.jpg
ไฟล์:Vulcanic Explosion on Io.jpg |alt=A volcanic eruption plume rises over the limb of Io|แนวปะทุของภูเขาไฟ [[Loki Patera|Loki]] ความสูง {{convert|160|km|sigfig=1|abbr=on}} จากพื้นผิวของดวงจันทร์ไอโอ
| File:PIA01970.jpg
ไฟล์:PIA01970.jpg |alt=Europa as seen from Voyager 1 at a distance of 2.8 million km|แนวเส้นริ้วบนพื้นผิวของดวงจันทร์ยูโรป้าที่ไม่ใช่แนวภูเขาไฟ หลักฐานแสดงให้เห็นว่าถึงพื้นผิวที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาเคลื่อนตัว ถ่ายจากระยะ 2.8 ล้านกิโลเมตร
| File:Ganymede - PIA02278.jpg
ไฟล์:Ganymede - PIA02278.jpg |alt=Icy surface of Ganymede as photographed from 253,000 km|บริเวณพื้นที่สีขาวแสดงพื้นผิวที่โดนทำลายทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์แกนีมีด ถ่ายจากระยะ 253,000&nbsp;กิโลเมตร
}}
 
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Jupiter system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Jupiter encounter}}}}
เส้น 491 ⟶ 501:
{{Main|การสำรวจดาวเสาร์}}
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำประสบความสำเร็จในการเดินแบบวิถีโค้งโคจรโดยอาศัยแรงโน้มถ่วง (gravitational assist trajectory) ไปยังดาวเสาร์ อีกทั้งได้ทำการสำรวจ[[ดาวเสาร์]] รวมถึงวงแหวน และเหล่าดาวบริวารของดาวเสาร์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางมาถึงดาวเสาร์ในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1980 และเดินทางเข้าใกล้มากที่สุด โดยห่างจากขอบบนของกลุ่มเมฆ (clound-tops) บนดาวที่ระยะ {{convert|124000|km|mi|-3|sp=us}} ในวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ซึ่งกล้องบนยานได้ตรวจพบโครงสร้างอันสลับซับซ้อนบนวงแหวนของดาวเสาร์และใช้เซ็นเซอร์ระยะไกลทำการศึกษาชั้นบรรยากาศของทั้งดาวเสาร์และดวงจันทร์ไททัน (Titan) ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุด<ref name="nasa.saturn">{{cite web |url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/saturn.html |title=Encounter with saturn |publisher=NASA |accessdate=August 29, 2013 }}</ref>
 
จากการสำรวจพบว่าชั้นบรรยากาศส่วนบน (upper atmosphere) ของ[[ดาวเสาร์]]ประกอบไปด้วย[[ฮีเลียม]]อยู่ประมาณร้อยละ 7 (คิดเป็นร้อยละ 11 ของชั้นบรรยากาศบนดาวพฤหัสบดี) ขณะที่องค์ประกอบที่เหลือคือ[[ไฮโดรเจน]] เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าฮีเลียมปริมาณมหาศาลจะกระจุกตัวอยู่บริเวณชั้นในของดาวเสาร์เหมือนเช่นเดียวกับที่พบบนดาวพฤหัสบดีและดวงอาทิตย์ ส่วนฮีเลียมปริมาณเบาบางที่พบในชั้นบรรยากาศส่วนบนอาจแทรกลงมาด้านล่างอย่างช้าๆ ผ่านไฮโดรเจนซึ่งมีมวลน้อยกว่า ซึ่งนั่นอาจเป็นเหตุผลว่าความร้อนส่วนเกินบนดาวเสาร์ที่แผ่ออกมานั้นได้รับมาจากดวงอาทิตย์นั่นเอง นอกจากยังพบว่ามีกระแสลมแรงพัดอยู่บนพื้นผิวดาวเสาร์ ความเร็วลมใกล้เส้นศูนย์สูตรสูงถึง 500&nbsp;เมตรต่อวินาที (1,100&nbsp;ไมล์ต่อชั่วโมง) โดยกระแสลมส่วนใหญ่จะพัดไปทางทิศตะวันออก<ref name="nasa.planetary" />
 
มีการตรวจพบปรากฎการณ์ออโรราคล้าย[[ออโรรา (ดาราศาสตร์)|ออโรรา]] ซึ่งเกิดจาก[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]ที่ปลดปล่อยออกมาจาก[[ไฮโดรเจน]] พบบริเวณเขตละติจูดกลาง (mid-latitudes) ของชั้นบรรยากาศ และพบออโรราบริเวณละติจูดแถบขั้วโลก (มากกว่า 65 องศา) การเกิดออโรราระดับบนชั้นบรรยากาศที่สูงเช่นนี้อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนรูปเป็นโมเลกุลเชิงซ้อนของ[[ไฮโดรคาร์บอน]]ซึ่งจะเคลื่นที่ไปรวมกันอยู่ที่แถบ[[เส้นศูนย์สูตร]] ส่วนสาเหตุของการเกิดออโรราบริเวณเขตละติจูดกลางที่พบได้เฉพาะบริเวณพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงนั้นยังคงเป็นปริศนา แต่คาดการณ์ว่าอาจเกิดจากการระเบิดของอิเล็กตรอนและไอออน ซึ่งเป็นสาเหตุเดียวกับการเกิดออโรราที่พบบนโลกที่จะพบแค่ในบริเวณใกล้ขั้วโลก ยานวอยเอจเจอร์ทั้งสองลำได้ทำการวัดคาบการหมุนรอบตัวเองของดาวเสาร์พบว่าใช้เวลา 10 ชั่วโมง 39 นาที 24 วินาที<ref name="nasa.saturn" />
 
== อนาคตของยานสำรวจฯ ==