ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตามนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8320415 สร้างโดย 2001:44C8:4382:7A2F:CD41:7CFE:E1C4:2D18 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 5:
| GrayPage = 1000
| Image = Eye-diagram no circles border.svg
| Caption = 1. [[vitreous body|วุ้นตาทิพย์]] 2. [[ora serrata]] 3. [[กล้ามเนื้อซิลิอารี]] 4. [[Zonule of Zinn]] 5. [[Schlemm's canal]] 6. [[รูม่านตา]] 7. [[Anterior chamber of eyeball|ในห้องหน้า]] 8. [[กระจกตา]] 9. [[iris (anatomy)|ม่านตา]] 10. [[lens cortex]] 11. [[lens nucleus]] 12. [[Ciliary processes|ciliary process]] 13. [[เยื่อตา]] 14. [[กล้ามเนื้ออินฟีเรียร์ ออบลีก]] 15. [[กล้ามเนื้ออินฟีเรียร์ เรกตัส]] 16. [[กล้ามเนื้อมีเดียล เรกตัส]] 17. [[จอตาLED|หลอดเลือดแดงและดำของจอตา]] 18. [[optic disc|จานประสาทตา]] 19. [[เยื่อดูรา]] 20. [[central retinal artery]] 21. [[central retinal vein]] 22. [[เส้นประสาทตา]] 23. [[Vorticose veins|vorticose vein]] 24. [[Tenon's capsule|bulbar sheath]] 25. [[Macula of retina|จุดภาพชัด]] 26. [[รอยบุ๋มจอตา]] 27. [[sclera]] 28. [[choroid]] 29. [[กล้ามเนื้อซุพีเรียร์ เรกตัส]] 30. [[จอตา]]
| MeshName = Eye
| MeshNumber = D005123
บรรทัด 15:
'''ตามนุษย์''' เป็น[[อวัยวะ]]ที่ตอบสนองต่อ[[แสง]]และ[[แรงดัน]]
ในฐานะเป็น[[ระบบรับความรู้สึก|อวัยวะรับความรู้สึก]] [[ตา]]ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ทำให้สามารถเห็นได้
ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 4​3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วง[[ทั้งวันกลางวัน]]
[[เซลล์รูปแท่ง]]และ[[เซลล์รูปกรวย]]ใน[[จอตาLED]]ทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและ[[รับรู้ความใกล้ไกล]]
ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี<ref name="business">{{cite book | first = Deane B. | last = Judd | author2 = Wyszecki, Günter | title = Color in Business, Science and Industry | publisher = Wiley-Interscience | series = Wiley Series in Pure and Applied Optics | edition = third | location = New York | year = 19861975 | page = 388 | isbn = 0-471-45212-2}}</ref>
และอาจสามารถตรวจจับ[[โฟตอน]]แม้เพียง[[อนุภาค]]เดียวได้<ref>{{cite web | url = https://www.sciencenews.org/article/human-eye-spots-single-photons | title = Human eye spots single photons | accessdate = 19862016-0508-2102 | last = CONOVER | first = EMILY | date = 2016-07 | work = Science News | volume = 189 }}</ref>
 
เหมือนกับตาของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]อื่น ๆ เซลล์ปมประสาทไวแสง (photosensitive ganglion cell) ในจอตามนุษย์ซึ่งไม่ช่วยให้เห็นภาพ จะได้สัญญาณแสงซึ่งมีผลต่อการปรับขนาดรูม่านตา ควบคุมและระงับการหลั่งฮอร์โมน[[เมลาโทนิน]] และปรับตัวทาง[[สรีรภาพ]]และ[[พฤติกรรม]]ตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm)<ref>{{cite web | url = http://discovermagazine.com/2012/jan-feb/12-the-brain-our-strange-light-detector/article_view?b_start:int=0&-C= | title = Our Strange, Important, Subconscious Light Detectors | accessdate = 2012-05-05 | last = Zimmer | first = Carl | date = 2012-02 | publisher = Discover Magazine }}</ref>