ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบตเตอรี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8245345 โดย JBotด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 11:
| symbol_caption = สัญลักษณ์แบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับแบตเตอรี่ในแผนภาพวงจร
}}
'''แบตเตอรี่''' ({{lang-en|Battery}}) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย [[เซลล์ไฟฟ้าเคมี]] หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า<ref>{{cite book|title=Battery Reference Book|edition=third|last=Crompton|first=T. R.|date=2000-03-20|publisher=Newnes|page=Glossary 3|isbn=0080499953|url=https://books.google.ca/books?id=QmVR7qiB5AUC&lpg=PA11&ots=ckHhIPVdcC&dq=battery%20one%20or%20more%20cells&pg=PA11#v=onepage&q&f=false|accessdate=2016-03-18}}</ref> แบตเตอรี่มี [[ขั้วบวก]] ({{lang-en|anode}}) และ [[ขั้วลบ]] ({{lang-en|cathode}}) ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มีเครื่องหมายลบคือแหล่งที่มาของอิเล็กตรอนที่เมื่อเชื่อมต่อกับวงจรภายนอกแล้วอิเล็กตรอนเหล่านี้จะไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร [[อิเล็กโทรไลต์]] มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแล้วเสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออนเหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน<ref>{{cite web|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/battery|title=Battery - Definition of battery by Merriam-Webster|work=merriam-webster.com}}</ref> ในเอดีตคำว่าอดีตคำว่า "แบตเตอรี่" หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้รวมถึงอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว<ref>{{cite book|title=Batteries for Portable Devices|first=Gianfranco|last=Pistoia|date=2005-01-25|publisher=Elsevier|isbn=0080455565|page=1|url=https://books.google.ca/books?id=XMe1EnEMuMEC&lpg=PA1&dq=battery%20two%20or%20more%20cells&pg=PA1#v=onepage&q&f=false|accessdate=2016-03-18}}</ref>
 
แบตเตอรี่ปฐมภูมิจะถูกใช้เพียงครั้งเดียวหรือ "ใช้แล้วทิ้ง"; วัสดุที่ใช้ทำขั้วไฟฟ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในช่วงปล่อยประจุออก ({{lang-en|discharge}}) ตัวอย่างที่พบบ่อยก็คือ [[แบตเตอรี่อัลคาไลน์]] ที่ใช้สำหรับ [[ไฟฉาย]] และอีกหลายอุปกรณ์พกพา แบตเตอรี่ทุติยภูมิ ([[แบตเตอรี่ประจุใหม่ได้]]) สามารถดิสชาร์จและชาร์จใหม่ได้หลายครั้ง ในการนี้องค์ประกอบเดิมของขั้วไฟฟ้าสามารถเรียกคืนสภาพเดิมได้โดยกระแสย้อนกลับ ตัวอย่างเช่น [[แบตเตอรี่ตะกั่วกรด]] ที่ใช้ในยานพาหนะและแบตเตอรี่ [[ลิเธียมไอออน]] ที่ใช้สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนย้ายได้
บรรทัด 60:
แรงดันไฟฟ้าที่พัฒนาขึ้นระหว่างขั้วไฟฟ้าของเซลล์จะขึ้นอยู่กับการปลดปล่อยพลังงานของปฏิกิริยาเคมีของขั้วไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์ของมัน เซลล์แบบ [[แบตเตอรี่อัลคาไลน์|อัลคาไลน์]] และแบบ [[แบตเตอรี่สังกะสีคาร์บอน|สังกะสีคาร์บอน]] มีปฏิกิริยาเคมีแตกต่างกัน แต่มี EMF ประมาณเดียวกันที่ 1.5 โวลต์; ในทำนองเดียวกัน เซลล์แบบ [[แบตเตอรี่นิกเกิลแคดเมียม|NiCd]] และแบบ [[แบตเตอรี่นิกเกิลโลหะไฮไดรด์|NiMH]] จะมีเคมีที่แตกต่างกัน แต่มี EMF ประมาณเดียวกันที่ 1.2 โวลต์<ref>Dingrando 674.</ref> การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้​​าเคมีที่สูงในปฏิกิริยาของสารประกอบ [[ลิเธียม]] จะเป็นผลให้เซลล์ลิเธียมมี EMF ที่ 3 โวลต์หรือมากกว่า<ref>Dingrando 677.</ref>
 
== 1 ประเภทแบตเตอรี่สามัญ ==
 
=== แบตเตอรี่ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้ และชนิดใช้แล้วทิ้ง ===
บรรทัด 80:
* [[แบตเตอรี่ลิเทียม-ไอออน|ลิเธียม-ไอออน]] (Li-Ion)
 
==== 1 (Primary cell) ใช้แล้วทิ้ง ====
* [[Zinc-carbon battery]]
* [[Alkaline battery]]
บรรทัด 88:
* [[Zinc-air battery]]
 
==== 2 ชาร์จใหม่ได้ ====
* [[Lead-acid battery]]
** [[Absorbed glass mat]]