ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 49:
[[ไฟล์:‎1A1182101XXX036 (15101276637).jpg|220px|thumb|right|กองทหารอินโดจีนเดินรักษาการณ์ในแนวรบตะวันตก]]
 
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ได้อุบัติในทวีปยุโรป ฝรั่งเศสซึ่งในขณะนั้นปกครองกัมพูชาในฐานะเจ้าอาณานิคม ได้เริ่มมีนโยบายเกณฑ์ผู้คนไปเป็นทหารในแนวหน้า เพื่อทดแทนทหารฝรั่งเศสซึ่งเสียชีวิตใน[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันตก]] ในดินแดน[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]]ได้เริ่มมีการเกณฑ์ผู้คนไปเป็นทหารจากทั้งใน[[ตังเกี๋ย]] [[โคชินไชนา|โคชินจีน]] [[รัฐในอารักขาอันนัม|อันนัม]] และกัมพูชา
 
ในปี พ.ศ. 2458 (ค.ศ. 1915) มีโปสเตอร์ขนาดใหญ่ปรากฏในเมืองและหมู่บ้านต่างๆใสพระราชอาณาจักรกัมพูชาชี้แจงให้ประชาชนเข้าร่วมสงครามโลก จนกระทั่งเดือนกุมภาพันธ์ปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) พระสีสุวัตถิ์พระองค์ทรงออกพระราชกฤษฎีกาได้เรียกร้องให้อาสาสมัครมีส่วนร่วมในสงครามโลกกับฝรั่งเศส<ref>{{cite journal|journal= The Phnom Penh Post |volume=|issue=|pages=|title= Fighting for colonial masters: Khmers in the First World War |url= https://m.phnompenhpost.com/national/fighting-colonial-masters-khmers-first-world-war |date= 19 มิถุนายน 2541 |accessdate= 18 พฤษภาคม 2562}}</ref>
 
ข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีนในเดือนมกราคม .ศ. 19162459 เรียกเกณฑ์ผู้ชาย 7,000 คน (สำหรับเท่ากับทหารจำนวนเจ็ดกองพัน) ของเพื่อจัดตั้งทหารกองหนุนและทหารประจำการจากอินโดจีนเพื่อที่จะส่งไปยังฝรั่งเศสและขอเพิ่มเติมอาสาสมัครเพิ่มเติมอีก 12,000 คน, แรงงานที่มีทักษะ 10,000 คน (พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรม, ล่าม ฯลฯ ) และแรงงานไร้ฝีมือ 20,000 คน
 
กัมพูชาถูกเรียกตัวให้จัดพลทหารอาสา 1,000 คนและคนงาน 2,500 คนไปช่วยฝรั่งเศสทำสงคราม ชาวเขมรหลายกองกำลังในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งถูกนำไปใช้หลังแนวหน้าเช่นอินโดจีนหรือไม่ก็ไปทำงานเป็นแรงงานในโรงงานผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ฝรั่งเศส