ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชีวสังเคราะห์โปรตีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chuansin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Chuansin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:proteinsynthesis.png|frame|รูปแสดงการสังเคราะห์[[โปรตีน]]<br/>ภายใน [[เซลล์ นิวเคลียส|นิวเคลียส]] ของเซลล์ (''น้ำเงินอ่อน''), [[ยีน]] ([[DNA]], ''น้ำเงินเข้น'') ถูก [[ทรานสคริป]] ไปเป็น [[RNA]] RNA หลังทรานสคริปชั่นจะถูกปรับแต่งให้เป็นเสมือนผู้นำข่าวข้อมูลที่เรียกว่า messengerRNA หรือ [[mRNA]] (''แดง'') แล้วจะถูกเคลื่อนย้ายออกจากนิวเคลียสเข้าไปใน [[ไซโตพลาซึม]] (''peach''), ที่ซึ่งจะเกิดกระบวนการ[[ทรานสเลชั่น]] เป็น[[โปรตีน]] mRNA จะถูกทรานสเลสโดย [[ไรโบโซม]] (''สีม่วง'') โดยการจับคู่กันของเบส 3 ตัว [[โคดอน]](codon) ของ mRNA กับเบส 3 ตัว [[แอนตี้โคดอน]](anti-codon) ของ [[ทรานเฟอร์ RNA|tRNA]] โปรตีนที่สังเคราะห์ใหม่ (''สีดำ'') จะถูกปรับแต่งต่อไป เช่น การเชื่อมต่อกับโมเลกุลเอฟเฟคเตอร์ (''สีส้ม'') กลายเป็นโมเลกุลที่แอกตีฟเต็มที่ต่อไป]]
[[Image:proteinsynthesis.png|frame|An overview of protein synthesis.<br/>Within the [[cell nucleus|nucleus]] of the cell (''light blue''), [[gene]]s (DNA, ''dark blue'') are [[transcription (genetics)|transcribed]] into [[RNA]]. This RNA is then subject to post-transcriptional modification and control, resulting in a mature [[mRNA]] (''red'') that is then transported out of the nucleus and into the [[cytoplasm]] (''peach''), where it undergoes [[translation (genetics)|translation]] into a protein. mRNA is translated by [[ribosome]]s (''purple'') that match the three-base [[codon]]s of the mRNA to the three-base [[anti-codon]]s of the appropriate [[transfer RNA|tRNA]]. Newly synthesized proteins (''black'') are often further modified, such as by binding to an effector molecule (''orange''), to become fully active.]]
 
'''การสังเคราะห์''' ([[อังกฤษ]]:Protein biosynthesis(Synthesis)) เป็นกระบวนการสร้าง[[โปรตีน]]ที่เกิดขึ้นใน [[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] กระบวนการสร้าง[[โปรตีน]]มีหลายขั้นตอนเริ่มตั้งแต่ [[ทรานสคริปชั่น(พันธุกรรม)|ทรานสคริปชั่น]]และจบที่ [[ทรานสเลชั่น(พันธุกรรม)|ทรานสเลชั่น]] การสังเคราะห์โปรตีนโดยทั่วไปถึงแม้จะเหมือนกันแต่ก็มีความแตกต่างกันในระหว่าง [[โปรแคริโอต]] และ [[ยูแคริโอต]]
 
==ทรานสคริปชั่น==
 
ในขั้นตอน'''ทรานสคริปชั่น'''สิ่งจำเป็นต้องใช้คือ [[DNA]] เพียงหนึ่งเส้นจากสองเส้นคู่ที่ไขว้กัน ซึ่งเรียกว่า [[รหัสเกลียว]] (coding strand) '''ทรานสคริปชั่น'''เริ่มที่เอนไซม์ [[อาร์เอ็นเอ พอลิเมอเรส]] (RNA polymerase) เชื่อมต่อกับ [[DNA]]ตรงตำแหน่งเฉพาะซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่เรียกว่า [[โปรโมเตอร์]] (promoter) ขณะที่ [[อาร์เอ็นเอ พอลิเมอเรส]] เชื่อมต่อกับ[[โปรโมเตอร์]] แถบเกลียว [[DNA]] ก็จะเริ่มคลายตัวและแยกออกจากกัน
 
ต่อไปเป็นกระบวนการที่สองที่เรียกว่า อีลองเกชั่น (elongation) [[อาร์เอ็นเอ พอลิเมอเรส]]จะเคลื่อนตัวตลอดแนวแถบเกลียว [[DNA]] เพื่อสำเนารหัส [[DNA]]และได้เป็นแถบเกลียวรหัสที่เรียกว่าเมสเซนเจอร์อาร์เอ็นเอ (messengerRNA หรือ mRNA)นิวคลิโอไทด์ ซึ่งมีรหัสข้อมูลตรงข้ามกับ [[DNA]]
 
==ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง==