ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขลิ้งค์เสีย
บรรทัด 97:
หลังจากที่อพยพผู้คนและทรัพย์สินลงมาทางใต้และตั้งราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เรียกนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร" แต่เอกสารราชการสมัยกรุงธนบุรียังคงเรียกนามเมืองหลวงตามเดิมว่า "กรุงพระมหานครศรีอยุธยา" เจ้าตากทรงปราบดาภิเษกขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ตามแบบพระเจ้าแผ่นดินครั้งกรุงเก่า จดหมายเหตุโหรระบุว่าเป็นวันอังคาร แรมสี่ค่ำ จุลศักราช 1129 ซึ่งตรงกับวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310{{refn|group=เชิงอรรถ|สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาธิไธยว่า "พระศรีสรรเพชร สมเด็จบรมธรรมิกราชาธิราชรามาธิบดี บรมจักรพรรดิศร บวรราชาบดินทร์ หริหรินทร์ธาดาธิบดี ศรีสุวิบูลย์ คุณรุจิตร ฤทธิราเมศวร บรมธรรมิกราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพ ตรีภูวนาธิเบศร์ โลกเชษฏวิสุทธิ์ มกุฏประเทศคตา มหาพุทธังกูร บรมนาถบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกนพรัฐ ราชธานีบุรีรมย์อุดมพระราชนิเวศมหาสถาน"<ref name="นิธิ147">นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 147.</ref>}} เมื่อพระชนพรรษา 34 พรรษา ความสำเร็จดังกล่าวทำให้มีผู้ที่คิดรื้อฟื้นราชอาณาจักรอยุธยาขึ้นมาใหม่มาเข้าด้วยกับชุมนุมของพระองค์เป็นจำนวนมาก ทำให้สถานะการเป็นพระมหากษัตริย์ของพระองค์เด่นชัดยิ่งขึ้น<ref name="นิธิ147"/> อีกทั้งพระองค์ยังทรงเริ่มประกอบพระราชกรณียกิจตามแบบอย่างพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาเพื่อแสดงถึงสิทธิธรรม<ref name="นิธิ147"/> การเลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานียังถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญในการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เสียหายจากสงครามกับพม่าด้วย<ref name="ชัย6">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 6.</ref>
 
หลังจากทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[พระราชวังกรุงธนบุรี]]เมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่งเป็นพระราชวังหลวงที่ใช้เป็นสถานที่ประทับและว่าราชการ พร้อมกับปรับปรุงป้อมวิไชยเยนทร์ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นป้อมวิไชยประสิทธิ์ ตำแหน่งของพระราชวังนี้เป็นจุดสำคัญทางยุทธศาสตร์ สามารถสังเกตการณ์ได้ในระยะไกล อีกทั้งยังใกล้กับเส้นทางคมนาคมและเส้นทางการเดินทัพที่สำคัญอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ[[กองทัพเรือ]]<ref name="พระราชวังเดิม">[http://www.thaifolk.com/doc/wangderm.htm พระราชวังเดิม]</ref>
 
พระราชกรณียกิจแรกหลังการเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2311 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉินเหม่ยเซิน พ่อค้าเดินเรือจีน นำพระราชสาส์นไปถวายต่อ[[จักรพรรดิเฉียนหลง]]แห่ง[[ราชวงศ์ชิง|ราชสำนักชิง]] ใจความสำคัญว่าด้วยพระราชประสงค์ฟื้นฟูสัมพันธไมตรี การค้าขายกับจีน และขอพระราชทานตราตั้งเพื่อรับรองสถานภาพพระมหากษัตริย์ แต่ราชสำนักชิงปฏิเสธในปีแรกเพราะมองว่าพระองค์มิใช่ผู้สืบราชสันตติวงศ์เจ้านายกรุงเก่า และเจ้านายกรุงเก่ายังมีพระขนม์ชีพอยู่ คือ [[กรมหมื่นเทพพิพิธ]] (พระราชโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]) เสด็จไปก่อตั้งชุมนุมเจ้าพิมาย ส่วนเจ้าจุ้ย (พระโอรสในเจ้าฟ้าอภัยและพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]]) และเจ้าศรีสังข์ (พระโอรสใน[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]]และพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) เสด็จลี้ภัยสงครามไปอยู่กับพระยาราชาเศรษฐี ญวน (ม่อซื่อหลิน) ที่เมืองพุทไธมาศ อีกทั้งในระยะนั้นจีนได้รับรายงานที่ไม่เป็นความจริงจากม่อซื่อหลิน ทำให้เอกสารราชสำนักชิงจึงไม่เรียกขานพระนามอย่างพระมหากษัตริย์ แต่เรียกขานเพียง '''กันเอินซื่อ''' (เจ้าเมืองตาก) เท่านั้น<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์">จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์ : สมเด็จพระเจ้าตากสินกับจีนราชวงศ์ชิง [เจมส์ เค.ชิน (เฉียนเจียง), เขียน][อาทิตย์ เจียมรัตัญญ, แปล] ใน {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = |ชื่อหนังสือ = รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2559)|URL = http://www.academia.edu/10918681/จิ_มก_องขอหองโอรสสวรรค_สมเด_จพระเจ_าตากสินกับจีนราชวงศ_ชิง_James_K._Chin_Seeking_Recognition_from_the_Son_of_Heaven_King_Taksins_Siam_and_Qing_China_during_the_Late_Eighteenth_Century_Thai_|จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|ปี = 2559| ISBN = 978-616-7308-25-8|จำนวนหน้า = |หน้า = 1-23}}</ref>
 
=== ปราบชุมนุม ===
บรรทัด 106:
จากผลของการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ทำให้อาณาจักรอยุธยาไม่อาจกลับมาตั้งใหม่เป็นอาณาจักรของคนไทยได้อีก ทั้งยังเกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจและความปลอดภัยในชีวิตตามมา ซึ่ง[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]อธิบายว่า มีการรวมกลุ่มของประชาชนขึ้นด้วยวัตถุประสงค์แตกต่างกัน แต่สำคัญคือเพื่อเอาชีวิตรอด นอกจากนี้กลุ่มการเมืองหรือ "ชุมนุม" ขนาดใหญ่ ๆ นั้นยังแตกออกเป็น 4-6 ชุมนุมใหญ่ แต่ไม่มีก๊กใดเลยที่คิดจะกอบกู้เอกราชหรือฟื้นฟูชาติกลับคืนมาดังเดิม
 
เมื่อ[[พระเจ้ามังระ]]ทราบข่าวว่ามีคนไทยตั้งตนเป็นใหญ่อีกครั้ง จึงได้มีพระราชโองการให้เจ้าเมือง[[ทวาย]]ยกทัพมาปราบปราม<ref>ธีระชัย ธนาเศรษฐ. '''เปิดวังสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช'''. สำนักพิมพ์ ธีรกิจ (ประเทศไทย) จำกัด. หน้า 134.</ref> กองทัพพม่ายกมาถึงอำเภอบางกุ้งซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของกรุงธนบุรี พระราชพงศาวดารบันทึกว่ามีกองกำลัง 2,000 คน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเสด็จนำกองทัพออกตีพม่าจนแตกพ่าย กิตติศัพท์ที่ทรงรบชนะทำให้พระราชอำนาจทางการเมืองในภาคกลางยิ่งเข้มแข็งยิ่งขึ้น<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 148.</ref>
 
พ.ศ. 2311 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเริ่มจากยกทัพไปตีชุมนุมพิษณุโลกเป็นชุมนุมแรก แต่พระองค์ต้องกระสุนปืนจึงต้องยกทัพกลับและรักษาพระองค์ยังพระนคร ชุมนุมพิษณุโลกนี้ภายหลังอ่อนแอลงจนกระทั่งถูกชุมนุมเจ้าพระฝางผนวกไป หลังหายจากพระอาการประชวรแล้ว สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงใช้เวลาปราบปรามชุมนุมอื่น ๆ เพื่อรวบรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นต่อไป โดยเริ่มจากชุมนุมเจ้าพิมาย [[กรมหมื่นเทพพิพิธ]]ทรงถูกปราบปรามและสำเร็จโทษเมื่อ พ.ศ. 2311<ref>Damrong Rajanubhab, pp. 418-419</ref> ตามด้วยชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ซึ่งพระปลัดผู้รั้งเมืองนครศรีธรรมราชได้ตั้งตัวเองขึ้นเป็นเจ้า<ref>W.A.R.Wood, p. 254</ref> เจ้านครศรีธรรมราชสู้ไม่ได้หนีต่อลงไปยังหัวเมืองทางใต้ พระยาปัตตานีกลัวก็จับตัวมาส่งให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเมื่อ พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกทัพไปตีชุมนุมเจ้าพระฝางในหัวเมืองฝ่ายเหนือ สามารถยึดได้เมืองพิษณุโลกและชุมนุมเจ้าพระฝางเมือง[[สวางคบุรี]] รบกันได้เพียง 3 วัน เจ้าพระฝางก็แตกหนี เมื่อทรงปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ลงอย่างราบคาบ และทรงปราบกองทัพของม่อซื่อหลินที่เมืองพุทไธมาศสำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2314 รัฐบาลจีนเริ่มยอมรับสถานะพระมหากษัตริย์ของพระองค์อย่างเป็นทางการ<ref name="นิธิ173">นิธิ เอียวศรีวงษ์. หน้า 173.</ref> โดยทางราชสำนักชิงเห็นว่ากรุงธนบุรีภายใต้การปกครองของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นปึกแผ่น พระบรมวงศานุวงศ์ครั้งกรุงเก่าหมดหนทางกลับมาสืบราชสันตติวงศ์ อีกทั้งมีนโยบายจับกุมเชลยศึกที่หลบหนีเข้ามาไทยส่งกลับไปให้รัฐบาลจีนเป็นระยะๆ จักรพรรดิเฉียนหลงจึงทรงเปลี่ยนท่าทีต่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีตั้งแต่ พ.ศ. 2315 เป็นต้นมา เอกสารราชการของราชสำนักชิงเปลี่ยนการเรียกขานพระนามจาก '''กันเอินซื่อ''' หรือ '''พระยาสิน''' เป็น '''เจิ้งเจา''' (กษัตริย์เจิ้ง)<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์"/>
 
=== สงครามกับเขมร ===
เมื่อปี พ.ศ. 2312 เจ้านายเขมรได้เกิดวิวาทกัน กล่าวคือ นักองตนไปขอกองทัพญวณมาตีเขมร และ[[สมเด็จพระรามราชาธิราชแห่งกัมพูชา|นักองนนท์]]สู้มิได้ก็พาครอบครัวหนีมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ณ กรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาอภัยรณฤทธิ์กับพระยาอนุชิตราชา (ทองด้วง) ยกทัพไปตีเขมรได้เมืองเสียมราฐแล้วพักรอฤดูฝนอยู่ พอดีได้ข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยกทัพไปตีเมืองนครศรีธรรมราชแล้วสิ้นพระชนม์ลง การตีเขมรครั้งนั้นจึงยังไม่สำเร็จ
 
เมื่อชุมนุมเจ้าพระฝางถูกตีแตก อภัยคามณี [[โป่มะยุง่วน]] [[แคว้นเชียงใหม่|เจ้าเมืองเชียงใหม่]]ที่พม่าตั้ง เห็นสบโอกาสแผ่อาณาเขต จึงยกทัพลงมาล้อมสวรรคโลกไว้เมื่อ พ.ศ. 2313 แม่ทัพกรุงธนบุรีรักษาเมืองไว้มั่นคง ครั้นกองทัพกรุงธนบุรีที่ยกมาช่วยเหลือ พอถึงก็เข้าตีกระหนาบพ่ายกลับไป ฝ่ายสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเห็นสบโอกาสก็ยกทัพขึ้นไปจะตีเอาเมืองเชียงใหม่บ้าง แต่ล้อมได้เพียง 9 วันก็ต้องยกกองทัพถอยกลับลงมา
บรรทัด 160:
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกระตุ้นให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกร้างในธนบุรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก[[แต้จิ๋ว (เมือง)|เมืองแต้จิ๋ว]]<ref>{{cite book|title=Blood Brothers: The Criminal Underworld of Asia|author=Bertil Lintner|publisher=Macmillan Publishers|page=|isbn=1403961549}}, p. 234</ref> ซึ่งบางส่วนมีจุดประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ซบเซา<ref>{{cite book|title=A History of Thailand|author=Chris Baker, Pasuk Phongpaichit|publisher=Cambridge University Press|isbn=0521816157}}, p. 32</ref> ทรงพยายามเจริญสัมพันธไมตรีกับจีน พ.ศ. 2313 ขณะที่จีนกำลังทำสงครามกับพม่าที่ยูนนาน ชาวพม่าหนีเข้ามาพึ่งสยามทางภาคเหนือของไทย ถึงแม้ว่าในเวลานั้นราชสำนักชิงยังไม่ได้รับรองรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แต่ก็ได้ติดต่อสยามให้จับกุมข้าศึกเหล่านั้นส่งไปให้จีนด้วย พอดีกับที่ทรงกรีฑาทัพไปตีเมืองเชียงใหม่ จึงได้จับเชลยชายหญิงส่งไปถวายจักรพรรดิเฉียนหลง 12 คน เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2314 จักรพรรดิเฉียนมีรับสั่งให้เปลี่ยนนโยบายต่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ต่อมาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงส่งคนจีน หยุนหนานที่หลบหนีไปต่างประเทศทางทะเลและเชลยศึกพม่าไปให้จีนเป็นระยะๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2315 เป็นต้นมา ราชสำนักชิงได้รับรองสถานภาพพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2315<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์"/>
 
รัฐบาลจีนโดยราชสำนักชิงแสดงมิตรไมตรีต่อรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีด้วยการอนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้ขายยุทธปัจจัยได้ ซึ่งกฎหมายของราชสำนักชิงห้ามไม่ให้ค้าขายสินค้าเหล่านี้ การซื้อขายดังกล่าวเกิดขึ้น 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ทรงส่งเฉินว่านเซิ่ง พ่อค้าชาวจีนไปซื้อกำมะถันจำนวน 50 หาบและกระทะเหล็กจำนวน 500 ใบ เมื่อ พ.ศ. 2318 และครั้งที่ 2 ทรงส่งโม่กว่างอี้ พ่อค้าชาวจีนอีกคนหนึ่งไปซื้อกำมะถันอีก 100 หาบ เมื่อ พ.ศ. 2320 จักรพรรดิเฉียนหลงมีพระราชกระแสรับสั่งต่อข้าหลวงใหญ่มณฑลกวางตุ้งและกวางสีว่า หากรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจะซื้อดินประสิวหรือสินค้าจำเป็นอื่นๆ เพิ่มเติมก็ให้จัดหาให้ตามพระราชประสงค์<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์"/> ต่อมาปี พ.ศ. 2324 ทรงแต่งคณะทูตนำเครื่องราชบรรณาการไปถวายแด่จักรพรรดิเฉียนหลงเพื่อสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับจีนอย่างเป็นทางการ คณะทูตที่เดินทางไปเมืองปักกิ่งประกอบด้วย พระยาสุนทรอภัย ราชทูต หลวงพิไชยเสน่หา อุปทูต หลวงพจนาพิมล ตรีทูต ขุนพจนาพิจิตร ท่องสื่อ และหมื่นพิพิธวาจา ปันสื่อ พระนามพระเจ้าตากสินในพระราชสาส์นใช้ว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุธยา"''' และเรียกจักรพรรดิเฉียนหลงว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงต้าฉิ้ง"''' จักรพรรรดิเฉียนหลงทรงต้อนรับคณะทูตไทยเป็นอย่างดี พระราชทานเลี้ยงโต๊ะที่พระตำหนักซัมเกาสุ่นฉาง<ref>[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]} หน้า 70-71.</ref>
 
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงมรพระราชดำริว่า การมีเส้นทางคมนาคมที่ดีเป็นประโยชน์ในทางค้าขายมากกว่า ดังนั้น ในฤดูหนาวหากว่างจากศึกสงคราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนและขุดคลอง จะเห็นได้จากแนวถนนเก่า ๆ ใน[[เขตธนบุรี]]ซึ่งมีอยู่หลายสาย ส่วนการขุดชำระคลองมักมีวัตถุประสงค์เบื้องต้นเพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ เช่น คลองท่าขาม จาก[[นครศรีธรรมราช]]ไปออกทะเล เป็นต้น<ref>[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]} หน้า 71.</ref>
 
=== ด้านสังคม ศาสนา และการศึกษา ===
บรรทัด 182:
ภายหลังจากที่พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปปราบ[[ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช]]เมื่อปี พ.ศ. 2312 ทรงนำตัวละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราชเข้ามาเป็นครูฝึกหัดร่วมกับพวกละครที่ทรงรวบรวมได้จากที่อื่น แล้วจัดตั้งเป็นละครหลวงของกรุงธนบุรี โดยยึดแบบฉบับการฝึกละครของกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ยังได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] เพื่อให้คณะละครหลวงได้นำไปฝึกหัดออกแสดงด้วย<ref name="วรรณคดีไทย"/> ดังนั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูอย่างเต็มที่เพื่อสร้างบรรยากาศให้รื่นเริงครึกครื้นเหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประชาชนทั่วไปเปิดการฝึกสอนและออกโรงเล่นได้อิสระ เครื่องแต่งกายไม่ว่าจะเป็นเครื่องต้น เครื่องทรงก็แต่งกันได้ตามลักษณะเรื่อง ส่งผลให้ศิลปะการละครของไทยซึ่งเคยเจริญรุ่งเรืองมากตอนปลายอยุธยากลับฟื้นตัวขึ้นใหม่
 
โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง "'''สมุดภาพไตรภูมิ'''" ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2319 ซึ่งนับได้ว่าเป็นสมุดภาพไตรภูมิขนาดใหญ่เล่มหนึ่งของไทย เมื่อคลี่ออกจะมีความยาวถึง 34.72 เมตร เขียนด้วยสีลงในสมุดทั้ง 2 ด้าน โดยฝีมือช่างเขียน 4 คน ปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้ ณ [[หอสมุดแห่งชาติ]] ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ<ref>[httphttps://www.thapra.libonline.sufliphtml5.ac.th/objectscom/thesiszbzbg/fulltextafio/thapra/Namon_Phongsakornpaphas/Illustration.pdf สมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงศรีอยุธยา-ฉบับกรุงธนบุรีเลม 1-2]{{Dead</ref> link|date=พฤษภาคมและอีกฉบับเก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติกรุงเบอร์ลิน 2560}}ประเทศเยอรมันนี ซึ่งได้ซื้อไปจากประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2436</ref>[https://www.deutsche-digitale-bibliothek.de/item/CZY2WFMZSOO37EEEDMG4X2SKZFZSSG4K Bilderhandschrift Traiphum]
</ref>
 
ทรงมีพระราชดำริว่าช่างไทยสมัยธนบุรีมีเหลืออยู่น้อยมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมและฟื้นฟูการ[[ช่างสิบหมู่]]ขึ้นใหม่ แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด บ้านเมืองอยู่ในระหว่างสงคราม สิ่งของที่เป็นฝีมือช่างชั้นดีประณีตงดงามในสมัยกรุงธนบุรีจึงหาได้ยาก แต่ที่มีให้เห็นอยู่บ้าง ได้แก่ พระแท่นบรรทมของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประดิษฐานอยู่ที่วัดอินทาราม พระแท่นสำหรับทรงเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารเล็กหน้าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ตู้ลายรดน้ำที่มีศักราชแจ้งชัดว่าสร้างในสมัยกรุงธนบุรี อยู่ในหอพระสมุดวชิรญาณ ภายใน[[หอสมุดแห่งชาติ]] และท้องพระโรงพระราชวังเดิม ซึ่งเคยเป็นที่ประทับและเสด็จออกว่าราชการ ปัจจุบันอยู่ในการดูแลของกองทัพเรือ<ref>[http://www.changsipmu.com/thaiart_p05.html กรมช่างสิบหมู่] changsipmu.com (ลิงก์เสีย)</ref>
เส้น 205 ⟶ 206:
รัฐบาล[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] พร้อมทั้งเหล่าพสกนิกรชาวไทย ได้พร้อมใจกันสร้างพระราชอนุสาวรีย์ประดิษฐาน ณ [[วงเวียนใหญ่]] ฝั่งธนบุรี ซึ่งศาสตราจารย์[[ศิลป์ พีระศรี]] คณบดีประติมากรรม [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]ขณะนั้น เป็นผู้ออกแบบ ทางราชการได้ประกอบพระราชพิธีเปิดและถวายบังคมพระบรมราชอนุสาวรีย์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2497 และต่อมาวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2497 จึงมีรัฐพิธีเปิดเป็นทางการอีกครั้งหนึ่ง โดย[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]เสด็จพระราชดำเนินทรงวางพวงมาลา ถวายราชสักการะ ต่อมาทางราชการกำหนดให้วันที่ 28 ธันวาคม เป็นวันถวายบังคมพระบรมราชอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเช่นกัน<ref>[http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช], พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช - คลังปัญญาไทย</ref> อนุสาวรีย์ดังกล่าวเป็นรูปพระองค์กำพระแสงดาบในพระหัตถ์ขวา วัดความสูงจากตีนม้าทรงถึงยอดพระมาลาได้ประมาณ 9 เมตร ตั้งอยู่บนฐานคอนกรีตเสริมขนาด 8.90 × 1.80 × 3.90 เมตร
 
ธนาคารแห่งประเทศไทยออกธนบัตรชุดที่ 12 เรียก ''ธนบัตรชุดมหาราช'' โดยพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในสวนสาธารณะทุ่งนาเชย จังหวัดจันทบุรี ปรากฏอยู่หลังธนบัตรมูลค่า 20 บาทที่ออกเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2524<ref>{{cite web |url= http://www.bot.or.th/English/Banknotes/HistoryANdSeriesOfBanknotes/Pages/Banknote_Series12.aspx |title=The Great Series|author= TheWararat|author2=Sumit|date= Great February 23, 2012|work= Banknotes > History and Series of Banknotes > Banknotes, Series 12|publisher= [[ธนาคารแห่งประเทศไทย|Bank of Thailand]] |accessdate= June 7, 2013|quote= 20 Baht Back—Notification Date November 2, 1981 Issue Date December 28, 1981}}</ref>
|author= Wararat |author2=Sumit
|date= February 23, 2012
|work= Banknotes > History and Series of Banknotes > Banknotes, Series 12
|publisher= [[Bank of Thailand]] |accessdate= June 7, 2013
|quote= 20 Baht Back—Notification Date November 2, 1981 Issue Date December 28, 1981}}</ref>
 
สกุล [[ณ นคร]] สืบเชื้อสายชายสายตรงจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี<ref>Handley, p. 466</ref>
 
สุสานบรรจุฉลองพระองค์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและพระบรมวงศานุวงศ์ตั้งอยู่ในอำเภอเฉิงไห่ มณฑลกวางตุ้งในประเทศจีนใน พ.ศ. 2464 เชื่อกันว่าผู้สืบเชื้อสายของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีส่งฉลองพระองค์นี้ให้ไปฝังตามธรรมเนียมจีน ซึ่งสนับสนุนการอ้างว่าที่แห่งนี้เป็นบ้านเกิดของพระบรมราชชนก<ref>{{cite book|title=Siam Chinese boat Chinese in Bangkok regend|year=2001|author=Pimpraphai Pisalbutr|publisher=Nanmee Books|page=93|isbn=974-472-331-9|language=th}}
</ref>
 
นอกจากนี้ กองทัพเรือยังตั้งชื่อเรือหลวง ''ตากสิน'' ซึ่งเป็นรุ่นดัดแปลงของเรือฟริเกตไทป์ 53 ที่ผลิตในจีน เป็นการถวายพระเกียรติ และยังได้รับการถวายพระราชสมัญญานามเป็นพระบิดาแห่ง[[ทหารม้า]]ไทย<ref>[http://pr.prd.go.th/saraburi/ewt_news.php?nid=178 ศูนย์การทหารม้าสระบุรีจัดพิธีถวายราชสักการะและถวายบังคมพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช “พระบิดาแห่งการทหารม้าไทย”], สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสระบุรี, 4 ม.ค. 2554</ref>
 
== พระราชสมัญญานาม ==
* พระบิดาแห่ง[[ทหารม้า]]ไทย<ref>http://pr.prd.go.th/saraburi/ewt_news.php?nid=178</ref><ref>https://www.tnews.co.th/contents/219080</ref>
 
== เชิงอรรถ ==
เส้น 230 ⟶ 223:
== บรรณานุกรม ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite book|title=Gentleman Capitalists: British Imperialism in Southeast Asia 1770-1890|author=Anthony Webster|publisher=I.B. Tauris|isbn=1-86064-171-7}}
* {{cite book|title=Blood Brothers: The Criminal Underworld of Asia|author=Bertil Lintner|publisher=Macmillan Publishers|page=|isbn=1-4039-6154-9}}
* {{cite book|title=Moon Handbooks: Southeast Asia 4 Ed|author=Carl Parkes|publisher=Avalon Travel Publishing|isbn=1-56691-337-3}}
* {{cite book|title=A History of Thailand|author=Chris Baker, Pasuk Phongpaichit|publisher=[[Cambridge University Press]]|isbn=0-521-81615-7}}
* {{cite book|title=Lords of Life : A History of the Kings of Thailand|author=Chula Chakrabongse, Prince|publisher=Alvin Redman Limited|isbn=}}
* {{cite book|title=Thailand: A Short History|author=David K. Wyatt|publisher=Yale University Press|pages=|isbn=0-300-03582-9}}; [http://www.usmta.com/history-4.htm Siamese/Thai history and culture-Part 4]{{dead link|date=August 2018}}
* {{cite book|title=Becoming the Buddha: The Ritual of Image|author=Donald K. Swearer|year=2004|publisher=Princeton University Press|pages=|isbn=0-691-11435-8}}
* {{cite book|title=Time Out Bangkok: And Beach Escapes|author=Editors of Time Out|publisher=Time Out|pages=|isbn=1-84670-021-3}}
* {{cite book|title=Commerce and Capitalism in Chinese Societies|pages=|author=Gary G. Hamilton|year=2006|publisher=Routledge|isbn=0-415-15704-8}}
* {{cite book|title=The King Never Smiles|author=Paul M. Handley|publisher=London : Country Life|pages=|isbn=0-300-10682-3}}
* Prida Sichalalai. (1982, December). "The last year of King Taksin the Great". ''Arts & Culture Magazine'', (3, 2).
* {{cite book|title=A History of Thailand|year=1990|author=Rong Syamananda|publisher=[[Chulalongkorn University]]|pages=|isbn=974-07-6413-4}}
* {{cite book|title=Tay Son: Rebellion in 18th Century Vietnam|author=Thomas J. Barnes|publisher=[[Xlibris]] Corporation|pages=|isbn=0-7388-1818-6}}
* {{cite book|title=A History of Siam|year=1924|author=W.A.R. Wood|publisher=Chiengmai|pages=|isbn=}}
* {{cite book|title=Editorial Research Reports on World Affairs|year=1966|author=William B. Dickinson|publisher=[[Congressional Quarterly]]|pages=|isbn=}}
* {{cite book|title=พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (พระเจ้าตากสิน) จุลศักราช 1128-1144.|year=2472|author=กรมตำรา กระทรวงธรรมการ|publisher=กรมตำรา กระทรวงธรรมการ|isbn=}}
* คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดจันทบุรี. "[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf{{cite book|title=พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]", ที่ระลึกพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช.|year=2524|author=คณะศึกษานิเทศก์ กรุงเทพฯ :สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดจันทบุรี|publisher=อมรินทร์การพิมพ์, 2524.|isbn=}} (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน มาทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ จังหวัดจันทบุรี วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนยี่ ปีระกา)
* {{cite book|title=สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช|year=2548|author=จรรยา ประชิตโรมรัน|publisher=สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|isbn=9745835927}}
* {{cite book|title=ประวัติศาสตร์ไทยสมัย พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๔๕๓ ด้านเศรษฐกิจ|year=2541|author=ชัย เรืองศิลป์|publisher=ไทยวัฒนาพานิช|isbn=9740841244}}
* {{cite book|title=พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับหมอบลัดเล|year=2551|author=[[แดน บีช บรัดเลย์]]|publisher=มติชน|isbn=9789740201779}}
* {{cite book|title=กรุงแตก,พระเจ้าตากฯและประวัติศาสตร์ไทยตาก สิ้นพระชนม์ที่เมืองนคร|year=25502555|author=[[นิธิทศยศ เอียวศรีวงศ์]]กระหม่อมแก้ว|publisher=ศิลปวัฒนธรรม40201779กรีนปัญญาญาณ จำกัด|isbn=9786165260305}}
* {{cite book|title=กรุงแตก, พระเจ้าตากฯ และประวัติศาสตร์ไทย|year=2550|author=[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]|publisher=ศิลปวัฒนธรรม40201779}}
* {{cite book|title=การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี|year=2550|author=[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]|publisher=มติชน|isbn=9789740201779}}
* {{cite book|title=มหาราชวงษ์พงศวดารพม่า|year=2545|author=นายต่อ : แปล ; พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ : บทนำเสนอ ; สุจิตต์ วงษ์เทศ : บรรณาธิการ|publisher=มติชน|isbn=9743225951}}
* {{cite book|title=พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งชาติไทย|year=2550|author=ส.พลายน้อย|publisher=พิมพ์คำ|isbn=}}
* {{cite book|title=ประวัติวรรณคดีไทยสำหรับนักศึกษา|year=2517|author=เปลื้อง ณ นคร|publisher=ไทยวัฒนาพานิช|isbn=}}
* {{cite book|title=สำเภาสยาม ตำนานเจ๊กบางกอก|year=2544|author=พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร|publisher=นานมีบุ๊คส์|isbn=9744723319}}
* {{cite book|title=นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย|year=2554|author=มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา|publisher=มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา|isbn=9786167308258}}
* {{cite book|title=บรรพบุรุษไทย : สมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น|year=2546|author=วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์|publisher=โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|isbn=9741323948}}
* {{cite book|title=พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งชาติไทย|year=2550|author=ส.พลายน้อย|publisher=พิมพ์คำ|isbn=9789747507201 }}
* {{cite book|title=ไทยรบพม่า|year=2463|author=[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]|publisher=มติชน|isbn=9789740201779}}
{{จบอ้างอิง}}
บรรทัด 264:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Taksin|สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี}}
* [http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/download/20120629153225.pdf นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย], มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
* [https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช], คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดจันทบุรี
* คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดจันทบุรี. "[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]", ที่ระลึกพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, 2524. (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน มาทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ จังหวัดจันทบุรี วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนยี่ ปีระกา)
* [https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/b_k_taksin_1.pdf แบบเรียนพงศาวดารกรุงธนบุรี แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ (พระเจ้าตากสิน) จุลศักราช ๑๑๒๘ ถึง ๑๑๔๔.] พิมพ์ครั้งที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์กรมตำรากระทรวงธรรมการ, ๒๔๗๒.
* [http://3king.lib.kmutt.ac.th/ 3 กษัตริย์], เว็บไซต์[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]]
* [http://www.wangdermpalace.org/King%20Taksin_th.html ประวัติพระราชวังเดิม], มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม กองบัญชาการกองทัพเรือ
* [http://thkhon.multiply.com/photos/album/47/Ramakien_KingDhonburi รามเกียรติ์ ฉบับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ของสำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร]
* [http://textbooksproject.org/wp-content/uploads/2017/09/2อวสานพระเจ้าตาก.pdf “อวสานพระเจ้าตากฯ” จากพระราชพงศาวดารถึงวรรณกรรมปัจจุบัน], มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทยและมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
* [https://sejarah-nusantara.anri.go.id/media/dasadefined/HartaKarunArticles/hk028_siam/hk28_siam_1769_eng_v20161109.pdf Letter from the acting Phrakhlang Phya Phiphat Kosa in Siam to the Supreme Government in Batavia, 13 January 1769, and the answer from Batavia, 29 May 1769]
 
{{เริ่มกล่อง}}