ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษากะเหรี่ยง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=กลุ่มภาษากะเหรี่ยง
|familycolor=Sino-Tibetan
|states= [[รัฐกะเหรี่ยง]]และ[[รัฐกะยา]] [[ประเทศพม่า]], ภาคเหนือและภาคตะวันตกของ[[ประเทศไทย]]
บรรทัด 10:
}}
 
'''กลุ่มภาษากะเหรี่ยง''' เป็นกลุ่มภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงกลุ่มนี้อยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ <ref>เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. ภาษาถิ่นตระกูลไทย. กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล. 2531.</ref>
* [[ภาษากะเหรี่ยงสะกอ]]
* [[ภาษากะเหรี่ยงโป]]
บรรทัด 31:
* ภาษากะเหรี่ยงบเว (Bwe Karen ISO 639-3: bwe) มีผู้พูดในพม่า 15,700 คนเมื่อ พ.ศ. 2526 ในรัฐกะเหรี่ยง เขียนด้วยอักษรละตินและอักษรพม่า
== การเขียน ==
อักษรที่ใช้เขียนภาษากลุ่มกะเหรี่ยงมี 3 แบบด้วยกันดังนี้<ref>โยเซฟ เซกีมอต. พจนานุกรมปกาเกอะญอ-ไทย-ฝรั่งเศส-อังกฤษ. กทม. หน้าต่างสู่โลกกว้าง. 2549</ref>
* อักษรไก่เขี่ย (Chicken-scratch; ภาษากะเหรี่ยง: lix hsau waiv ''หลิ ชอ แหว'')เป็นอักษรพื้นเมืองที่ประดิษฐ์โดยชาวกะเหรี่ยงเอง ไม่ได้คัดลอกจากอักษรของชนชาติใด ใช้บันทึกประวัติศาสตร์และบทเพลงภาษากะเหรี่ยง ไม่เคยมีการใช้ในประเทศไทย
* อักษรที่มาจาก[[อักษรพม่า]]หรือ[[อักษรมอญ]] (ภาษากะเหรี่ยง: lix wa ''หลิ วา'')หรืออักษรขาว เป็นอักษรที่ใช้มากในพม่าและไทยทั้งกะเหรี่ยงพุทธและกะเหรี่ยงคริสต์ แต่เริ่มเป็นที่เข้าใจยากในหมู่เยาวชน ตัวอย่างเช่น [[อักษรกะยา]]