ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาโทแคเรียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox Language
| name = ภาษาโทแคเรียน
| region = [[ที่ราบตาริม]] ใน [[เอเชียกลาง]]
| extinct = [[พุทธศตวรรษที่ 14]]
| iso2 = ine
บรรทัด 12:
}}
 
'''กลุ่มภาษาโทแคเรียน''' หรือ '''กลุ่มภาษาโทคาเรียน''' เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน แบ่งเป็นภาษาย่อยได้สองภาษาคือ ภาษาโทแคเรียนตะวันออกและโทแคเรียนตะวันตก ใช้พูดในพุทธศตวรรษที่ 11–13 ก่อนจะกลายเป็นภาษาตายสูญไป ผู้พูดภาษานี้หันไปพูด[[ภาษาอุยกูร์]] ทั้งสองภาษาใช้พูดในบริเวณ[[แอ่งตาริม]]ใน[[เอเชียกลาง]] ปัจจุบันอยู่ใน[[เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์]] [[ประเทศจีน]] ชื่อของภาษานี้มาจาก โทแคเรียน นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก ชื่อของภาษานี้ในภาษาโทแคเรียนคือ arish- käna
 
ภาษา'''โทแคเรียน เอ''' หรือโทแคเรียนตะวันออก นั้น เคยพูดกันในแถบเตอร์ฟาน ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ส่วนภาษา'''โทแคเรียน บี''' หรือโทแคเรียนตะวันตก นั้น เคยพูดกันส่วนใหญ่ในแถบคูชา ทางตะวันตก แต่ก็มีพูดกันในเตอร์ฟานด้วย ภาษาโทแคเรียนนั้นเขียนด้วยอักษรที่ดัดแปลงจาก[[อักษร]]อินเดียฝ่ายเหนือ เรียกว่า[[อักษรพราหมี]] ซึ่งเป็นอักษรที่เคยใช้เขียน[[ภาษาสันสกฤต]]ในภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน
 
แม้ว่าภาษาโทแคเรียนจะเป็นภาษาที่เก่าแก่ แต่นักวิชาการเพิ่งรู้จักและได้วิเคราะห์ไวยากรณ์ รวมทั้งแปลภาษาโทแคเรียนได้เป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1908 นี้เอง โดยนักวิชาการชาวเยอรมัน ชื่อ '''เอมิมีซีก'''ซีค (Emil Sieg) และ'''วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ซีกลิง'''ซีคลิง (Wilhelm Siegling) ทั้งนี้ได้มีการเสนอชื่อเรียกภาษาตามสำเนียงเยอรมันว่า '''โตโทคาริช''' (Tocharisch)
 
ภาษาโทแคเรียนเป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับสาขาย่อย[[อินโด-อารยัน]]หรือ[[อินโด-อิเรเนียน]] ทั้ง ๆ ที่อยู่ในพื้นที่ทางตะวันออก หากพิจารณาตามหลักสัทศาสตร์แล้ว ภาษาโทแคเรียนอยู่ในกลุ่ม[[เคนตุม]] (Centum) อันเป็นเกณฑ์คร่าวๆคร่าว ๆ ในการจำแนกกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ทั้งๆทั้ง ๆ ที่กลุ่มภาษาเคมตุมนั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ใน[[ทวีปยุโรป]] จึงจัดว่าภาษาโทแคเรียนเป็นกลุ่มภาษาเคมตุมเคนตุม ที่รายล้อมด้วยกลุ่มภาษา[[ซาเตม]] (Satem) ใน[[ทวีปเอเชีย]] และมีคุณลักษณะบางประการที่คล้ายคลึงกับ[[ภาษาฮิตไตต์]]ที่เคยพูดกันเมื่อราว 1,100 ปีก่อนคริสตกาล
 
{{โครงภาษา}}