ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ้านพิษณุโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox building
[[ไฟล์:BaanPitsanulok.jpg|thumb|300px|บ้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489]]
| building_name = บ้านพิษณุโลก
'''บ้านพิษณุโลก''' เป็นบ้านพักประจำตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีไทย]]และเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย [[มาริโอ ตามานโญ]] สถาปนิกประจำ[[ราชสำนักสยาม]][[ชาวอิตาลี]] (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”
|image = [[ไฟล์:นารายณ์บรรทมสินธุ์.jpg|150px]]
[[ไฟล์:นารายณ์บรรทมสินธุ์.jpg|thumb|280px|caption = ประติมากรรม "นารายณ์บรรทมสินธุ์" บริเวณด้านหน้าบ้านพิษณุโลก]]
|coordinates = {{coord|13.75849|100.51814|display=inline}}
|location = [[เขตดุสิต]]
|status = เสร็จสมบูรณ์
|location_town = [[กรุงเทพมหานคร]]
|location_country = [[ประเทศไทย]]
|architect = [[มาริโอ ตามานโญ]]
|completion_date = พ.ศ. 2465
}}
'''บ้านพิษณุโลก''' หรือชื่อเดิมคือ '''บ้านบรรทมสินธุ์''' เป็นบ้านพักประจำตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]และเคยใช้เป็นที่ทำการเรือนรับรองแขกสำคัญของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ [[รัฐบาลไทย]] เป็นบ้านแบบ[[สถาปัตยกรรมที่สวยงามกอทิกเวเนเทียน]] ออกแบบและสร้างโดย [[มาริโอ ตามานโญ]] สถาปนิกประจำ[[ราชสำนักสยาม]][[ชาวอิตาลี]] (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อตั้งอยู่บริเวณ[[ถนนพิษณุโลก]] “บ้านบรรทมสินธุ์”[[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ใกล้กับ[[ทำเนียบรัฐบาล]]
 
== ประวัติ ==
=== บ้านบรรทมสินธุ์ ===
[[ไฟล์:นารายณ์บรรทมสินธุ์.jpg|thumb|280px|ประติมากรรม "นารายณ์บรรทมสินธุ์" บริเวณด้านหน้าบ้านพิษณุโลก]]
[[ไฟล์:BaanPitsanulok.jpg|thumb|300200px|บ้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489]]
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 6]] ทรงสร้างบ้านบรรทมสินธุ์ และพระราชทานให้กับมหาดเล็กส่วนพระองค์ คือ พลตรี [[พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]] พร้อมกับการพระราชทาน[[บ้านนรสิงห์]] แก่ พลเอก [[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] ผู้พี่ และพระราชทาน[[บ้านมนังคศิลา]] แก่ มหาเสวกเอก [[พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล)]] รวมถึงพระราชทาน[[บ้านพิบูลธรรม]] แก่ [[เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี]] (หม่อมราชวงศ์[[ปุ้ม มาลากุล]])
 
=== ทำเนียบรัฐบาล ===
ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] รัฐบาลของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ได้ซื้อบ้านหลังนี้จากเจ้าของเดิม เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นซื้อไปเป็น[[สถานทูต]] เนื่องจากบ้านนี้ตั้งอยู่ใกล้กับ[[กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์|กองพันทหารราบที่ 3]] ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ รัฐบาลสมัยนั้นได้ใช้บ้านนรสิงห์ เป็น[[ทำเนียบรัฐบาล]] (ภายใต้ชื่อ "ทำเนียบสามัคคีชัย") สำหรับบ้านบรรทมสินธุ์นั้น ในช่วงแรก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "บ้านไทยพันธมิตร" ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น "บ้านพิษณุโลก" เนื่องจากบ้านหลังนี้ตั้งอยู่บน[[ถนนพิษณุโลก]] ข้าง[[โรงพยาบาลมิชชั่น]] ได้ใช้เป็นที่ต้อนรับแขกเมืองสำคัญของรัฐบาลมาจนปัจจุบัน
 
=== บ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ===
รัฐบาลยุคต่อมาได้ปรับปรุงบ้านพิษณุโลก เพื่อใช้เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่สมัย พล.อ.[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ในปี พ.ศ. 2522 และมาแล้วเสร็จในรัฐบาล พล.อ.[[เปรม ติณสูลานนท์]] ในปี พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ได้ย้ายเข้าไปพัก แต่ก็อยู่เพียง 2 วัน จึงย้ายออกไปพักที่บ้านพักเดิมคือ [[บ้านสี่เสาเทเวศร์]] ในยุค พล.อ.[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มีการใช้บ้านหลังนี้เป็นที่ทำงานทำการของคณะที่ปรึกษาจนมีชื่อเสียงโด่งดัง นายกรัฐมนตรีโดยเรียกกันติดปากสื่อมวลชนว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก"แต่ไม่ได้มีการใช้เป็นที่พัก<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/032/1.PDF แถลงการณ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 1]</ref> โดยนายกรัฐมนตรียุคต่อมามีเพียง นาย[[ชวน หลีกภัย]] เป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่เข้าพักบ้านพิษณุโลกหลังนี้และอยู่ได้นานทั้งสองสมัยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี [http://www.youtube.com/watch?v=P6k8A7bRBIM]
 
== สื่อในร่วมสมัย ==
=== ภาพยนตร์ ===
บ้านพิษณุโลกใช้เป็นฉากของ "[[บ้านทรายทอง]]" ในภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน กำกับการแสดงโดย [[รุจน์ รณภพ]] ดาราแสดงนำคือ [[พอเจตน์ แก่นเพชร]] เป็น [[ชายกลาง]] และ [[จารุณี สุขสวัสดิ์]] เป็น [[พจมาน สว่างวงศ์]] ถือเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในยุคสมัยนั้น ทำให้บ้านพิษณุโลกเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะมากกว่าเดิม แม้ในปัจจุบันภาพลักษณ์ความเป็น "บ้านทรายทอง" ก็ยังคงอยู่คู่กับสถานที่แห่งนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพล้อหรือ[[การ์ตูนล้อการเมือง|การ์ตูนการเมือง]]ตามหนังสือพิมพ์ มักเปรียบเปรยว่าบ้านพิษณุโลกเป็นประหนึ่งบ้านทรายทองในนวนิยาย ภาพล้อที่มีชื่อเสียงที่สุดน่าจะเป็นเมื่อครั้งที่[[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2535]] ได้มีการเขียนภาพล้อให้นายชวนเป็นพจมาน ไว้ผมเปียคู่ และสองมือถือชะลอม เดินเข้าบ้านพิษณุโลกหรือบ้านทรายทอง เลียนแบบฉากเปิดตัวพจมานในภาพยนตร์บ้านทรายทอง เนื่องจากเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่พำนักในบ้านพิษณุโลกนานที่สุด<ref>หนังสือ ๑๐๘ ซองคำถาม / สำนักพิมพ์สารคดี</ref>
=== บ้านผีสิง ===
 
== เรื่องร่ำลือ ==
[[ไฟล์:บ้านพิษณุโลก02.jpg|thumb|300px|บ้านพิษณุโลกจากภาพถ่ายดาวเทียมกูเกิ้ลเอิร์ธ]]
บ้านพิษณุโลกมีกิตติศัพท์ร่ำลือกันว่า[[บ้านผีสิง|ผีดุ]]จนเป็นเหตุให้ พล.อ.[[เปรม ติณสูลานนท์]] พักได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็ย้ายออกไปแต่เมื่อสื่อมวลชนไปสัมภาษณ์ พล.อ.[[เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา]] ซึ่งเป็นทายาทของพระยาอนิรุทธเทวา ซึ่งเคยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้เมื่อสมัยเด็กก็ได้รับการยืนยันว่าไม่เคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องผีดุแต่อย่างใดทั้ง ๆ ที่ตนอาศัยอยู่มาตั้งแต่เด็กจนหนุ่ม จนกระทั่งรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซื้อบ้านหลังนี้ไป แต่กิตติศัพท์เรื่องผีดุนี้ก็ได้รับการตอกย้ำ จนไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดย้ายเข้าไปพักอย่างเป็นทางการ แม้แต่ พล.อ.[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] ยังได้ใช้บ้านหลังนี้เป็นเพียงที่รับแขกเท่านั้น มีเพียงแต่นายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายเพียงคนเดียวที่พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานที่สุดคือ นาย[[ชวน หลีกภัย]] เนื่องจากบ้านพักในซอยหมอเหล็งของนายชวนนั้นค่อนข้างเล็กและคับแคบ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจึงได้ย้ายเข้ามาพำนักในบ้านพิษณุโลก อย่างเป็นทางการทั้งสองสมัย โดยได้ใช้โซฟาในห้องทำงานซึ่งอยู่ด้านหน้าห้องนอนเป็นที่นอน และไม่ได้มีการใช้เตียงนอนภายในห้องนอนของบ้านแต่อย่างใดเนื่องจากเป็นให้เกียรติเจ้าของบ้าน จึงเป็นที่สงสัยกันว่าเหตุใด นายชวน หลีกภัย พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานกว่านายกรัฐมนตรีคนอื่น ๆ และหลังจาก นายชวน หลีกภัย แล้วก็ไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดใช้บ้านหลังนี้เป็นที่พำนักถึงปัจจุบัน มีเพียงแต่ใช้เป็นที่ประชุมและรับแขกเท่านั้น<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=2gtEHoGv0DE|title=10 เบื้องหลังคน เบื้องหลังข่าว บ้านพิษณุโลก 041053 Part1 |date=4 October 2010|accessdate=12 January 2015|publisher=เนชั่นแชนแนล}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=P6k8A7bRBIM|title=10 เบื้องหลังคน เบื้องหลังข่าว บ้านพิษณุโลก 041053 Part 2 |date=4 October 2010|accessdate=12 January 2015|publisher=เนชั่นแชนแนล}}</ref>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
* [http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81 วรัญญา เพ็ชรคง. “บ้านพิษณุโลก.” ''ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองครองสถาบันพระปกเกล้า''.]
 
== ดูเพิ่ม (ออนไลน์) ==
 
* [[บ้านนรสิงห์]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{Coord|13.75849|N|100.51814|E|display=title}}