ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
'''โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์''' เป็นกลุ่ม[[โรงภาพยนตร์]] ซึ่งเกือบทั้งหมดมีที่ตั้งอยู่ในย่าน[[สยามสแควร์]] ประกอบด้วย '''โรงภาพยนตร์[[ศาลาเฉลิมไทย]]''' '''โรงภาพยนตร์สยาม''' '''โรงภาพยนตร์ลิโด''' และ '''โรงภาพยนตร์สกาลา''' จดทะเบียนธุรกิจในนาม "สยามมหรสพ"<ref>[https://marketeeronline.co/archives/7749 ทำไม ลิโด้ – สกาล่า ไม่ได้ไปต่อ]</ref> มีทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2511 ขณะที่ข้อมูลจากบางสำนักระบุว่าบริษัท เอเพกซ์ภาพยนตร์ จำกัด เป็นผู้ประกอบธุรกิจโรงภาพยนตร์ทั้งลิโดและสกาลา โดยบริษัทดังกล่าวจัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2523 มีทุนจดทะเบียน 140 ล้านบาท<ref>[https://www.sanook.com/money/537141/ "สกาลา" น่าเป็นห่วง]</ref> จากจุดตั้งต้น 1 ล้านบาท มีเจ้าของประกอบไปด้วย กัมพล ตันสัจจา, นันทา ตันสัจจา และ วิวัฒน์ ตันสัจจา ที่บริหาร[[สวนนงนุช]]<ref>[https://positioningmag.com/1171683 ไม่ไปต่อ ! ปิดฉาก “ลิโด้” 31 พ.ค. 50 ปีตำนานโรงหนังบนกรุสมบัติที่ดินทรัพย์สินจุฬาฯ]</ref>
 
ในปัจจุบันโรงภาพยนตร์ในเครือเอเพ็กซ์ ทั้ง 4 แห่งนั้น ได้ปิดตัวไปแล้ว 3 แห่ง ได้แก่ โรงภาพยนตร์[[ศาลาเฉลิมไทย]] ซึ่งถูกทุบทิ้งในปี พ.ศ. 2532 โรงภาพยนตร์สยาม ถูกวางเพลิงจนเสียหายหมดทั้งอาคาร จาก[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553|การชุมนุมทางการเมืองครั้งใหญ่ปี พ.ศ. 2553]]<ref>[https://movie.mthai.com/movie-news/62214.html โรงหนังสยามไฟไหม้ ความสูญเสียของคนดูหนังในเมืองไทย], เว็บไซต์:https://movie.mthai.com/ .วันที่ 19 พ.ค. 2010</ref> และโรงภาพยนตร์ลิโด ที่ปิดตัวเพราะหมดสัญญาเช่ากับทางจุฬาฯ ในวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คงเหลือแต่เพียงโรงภาพยนตร์สกาลาแต่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ที่ยังคงเปิดตัวอยู่จนถึงปัจจุบันโดยสัญญาเช่าพื้นที่จะสิ้นสุดราวกลางปี พ.ศ. 2563<ref>[http://www.komchadluek.net/news/ent/371193 นับถอยหลัง "สกาลา"]</ref>
 
== ประวัติ ==