ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชมุนี (โฮม โสภโณ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 46:
 
== ปริยัติ และปฏิบัติ ==
ปี พ.ศ 2468 พระภิกษุโฮม โสภโณได้พบกับ[[หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต]]เป็นครั้งแรก ที่วัดปทุมวนารามฯ และหลังจากนั้นพระภิกษุโฮม โสภโณ ก็บุกป่าฝ่าดงครั้งแล้วครั้งเล่าไปขอรับการชี้แนะจากหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ฉะนั้นหากจะนับศิษย์หลวงปู่มั่นก็จึงมิอาจข้ามนามแม้พระราชมุนี (มหาโฮม โสภโณ) รูปนี้ไปได้เลย แม้ท่านจะเดินสายปริยัติอย่างต่อเนื่อง แต่ขณะเดียวกันก็เดินสายปฏิบัติอย่างมิลดละ หลังพบกับพระอาจารย์มั่นคราวนั้น พระราชมุนีมหาโฮม โสภโณ เมื่อทราบข่าวว่าพระอาจารย์มั่นอยู่ที่ใด ก็มักจะเดินทางไปกราบคารวะพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เพื่อรับการอบรมด้านจิตภาวนาอยูเรื่อยมา จนพระอาจารย์มั่นได้ละขันธ์ เมื่อเดือน พ.ย. ปีพฤศจิกายน พ.ศ. 2492
 
พระราชมุนีมหาโฮม โสภโณ มิได้ปฏิบัติภาวนาอยู่แต่ในเมืองเท่านั้น หากพลิกหนังสือ “ทางสู่สันติ” หนังสืออนุสรณ์งานศพ พระครูอุดมธรรมคุณ (มหาทองสุก สุจิตโต) ศิษย์อีกรูปหนึ่งของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ซึ่งเขียนโดย หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร [[พระธรรมมงคลญาณ]]ก็จะพบว่า ครั้งหนึ่ง พระราชมุนีมหาโฮม โสภโณได้จาริกร่วมกับ พระอาจารย์มหาทองสุก และสุจิตโต และสามเณรประมัย กาฬเนตร ผู้รจนา หนังสือ “ธัมมานุวัตต์” ไปไหนต่อไหนหลายแห่งตั้งแต่ท่านยังหนุ่มที่ดังปรากฏความว่า '''พ.ศ. 2476 ปีนี้มหาทองสุก (ยังไม่ได้สมณศักดิ์) จึงเดินทาง (ธุดงค์) ร่วมกับพระราชมุนี (มหาโฮม โสภโณ โพธิศรีทอง ป.ธ.6) (ยังไม่ได้สมณศักดิ์) และ สามเณรประมัยนี้ แตกฉานในทางปฏิบัติมาก สามเณรจะเป็นผู้คอยแนะนำทางจิตอยู่เสมอ และพวกเราก็เชื่อถือสามเณรมาก ได้พักจำพรรษาที่บ้านหนองคาง [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] มหาทองสุกได้ปรารภความเพียรเริ่มกัมมัฏฐานอย่างจริงจัง เมื่อสงสัยอะไรก็ได้สามเณรประมัย เป็นที่ปรึกษา''' ทบทวนย้อนหลังก็จะพบว่า พ.ศ. 2476 นั้น เป็นปีที่พระมหาโฮม โสภโณ อายุ 28 ปี และเป็นพระมหาเปรียญ 3 ประโยคแล้ว
 
ความในหนังสือ “ทางสู่สันติ” ตอนหนึ่งบอกถึงการพักจำพรรษาที่บ้านหนองคาง จ.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ว่า หลวงปู่ทองสุก “ปรารภความเพียร เริ่มบำเพ็ญกัมมัฏฐานอย่างจริงจัง เมื่อสงสัยอะไรก็ได้สามเณรประมัยเป็นที่ปรึกษา... หลังจากที่จำพรรษาที่บ้านคางแล้ว ท่านเดินธุดงค์ จากนั้นเพื่อติดตามท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺตเถระ’ ทตฺตเถระเรื่อยไป จากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงมา เขาเต่า ไปทางจังหวัดสุพรรณบุรี เดินผ่านดงไปจะไปจังหวัดอุตรดิตถ์ ไม่เคยเดินทางลัด ไปหลงอยู่ในดง 3 วัน ไม่มีบ้านคนเลย นอนอยู่ในป่าใหญ่ มีแต่เสียงช้างเสียงเสือ...” ที่ จ.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นี่เองที่วันหนึ่งท่านไปพบเชิงเขา ซึ่งมีถ้ำใหญ่และอากาศก็เย็นสบาย เหมาะแก่การพักแรมอยู่แห่งหนึ่ง พอปลงบริขารพักแรม นั่งสมาธิอยู่ที่ปากถ้ำ จิตดำเนิน|สู่สมาธิไปจนดึกจึงถอนออกมา พลันรู้สึกว่ามีใครมานั่งอยู่ข้างๆ พอหัน|กลับมาดูแล้วถึงกับตัวชาไปทั้งร่างราวถูกคนเอาน้ำเย็นราดตั้งแต่ศีรษะยันปลายเท้า เพราะเห็นเสือตัวใหญ่นั่งอยู่ห่างออกไปแค่สองศอก ท่านว่า เห็นดังนั้นแล้วได้แต่รีบกำหนดสติ กลับมาภาวนาพุทโธ แผ่เมตตา จนฟ้าสางถึงถอนออกจากสมาธิ ไม่เพียงแต่จาริกไปตามข้อมูลที่ปรากฏในประวัติพระมหาทองสุก ถ้าพลิกหนังสือ เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา หนังสือประวัติท่านพระพุทธทาสภิกขุ สัมภาษณ์ไว้โดย อดีตพระประชา ปสนฺนธมฺโม ก็จะพบว่า ครั้งหนึ่งสามเณรประมัยและพระราชมุนีมหาโฮม โสภโณได้จาริกไปถึงสวนโมกข์ [[อำเภอไชยา]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]]
“พ.ศ. 2476...... ปีนี้ มหาทองสุก (ยังไม่ได้สมณศักดิ์) จึงเดินทาง (ธุดงค์) ร่วมกับ พระราชมุนี (มหาโฮม โสภโณ โพธิศรีทอง ป.ธ.6 ยังไม่ได้สมณศักดิ์) และ สามเณรประมัย นี้ แตกฉานในทางปฏิบัติมาก สามเณรจะเป็นผู้คอยแนะนำทางจิตอยู่เสมอ และพวกเราก็เชื่อถือสามเณรมาก ได้พักจำพรรษาที่บ้านหนองคาง จ.ประจวบคีรีขันธ์ มหาทองสุกได้ปรารภความเพียรเริ่มกัมมัฏฐานอย่างจริงจัง เมื่อสงสัยอะไรก็ได้สามเณรประมัย เป็นที่ปรึกษา...” ทบทวนย้อนหลังก็จะพบว่า พ.ศ. 2476 นั้น เป็นปีที่พระราชมุนีโฮมอายุ 28 ปี และเป็นมหาเปรียญ 3 ประโยคแล้ว
 
ท่านพุทธทาสภิกขุ เล่าว่า ขณะสามเณรประมัยไปอยู่ที่สวนโมกข์นั้น เป็นช่วงที่ท่านกำลังมุ่งมั่นค้นคว้าพระไตรปิฎก และมิได้วางสัมพันธ์กับชาวบ้านเยี่ยงขนบเดิมๆ ที่คนเป็นสมภารทั้งหลายทำกันเลย ขณะนั้น “...มีพระอื่นมาเทศน์บ้างสักครั้งสองครั้ง พระสมุห์แช่มดูเหมือนจะเคยสักที อีกคนที่ชาวบ้านชอบคือสามเณรประมัยเทศน์หลายหน ชาวบ้านชอบมากกว่าผมอีก เขาพูดจาโผงผางดี ชัดเจนดี เรื่องๆ เดียวกันแต่เขาพูดน่าฟังกว่า เป็นเณรโตอายุมากแล้ว เขาธุดงค์มากับมหาโฮม รู้เรื่องสวนโมกข์จากหนังสือพิมพ์พุทธศาสนา เขาธุดงค์กันมา ตอนแรกคิดจะสร้างวัดป่าแบบป่าช้าที่ประจวบฯ แต่ไม่สำเร็จ จึงเลยมาที่นี่ มหาโฮมอยู่ราว 2 เดือนก็กลับ ...”
ความในหนังสือ “ทางสู่สันติ” ตอนหนึ่งบอกถึงการพักจำพรรษาที่บ้านหนองคาง จ.ประจวบคีรีขันธ์ ว่า หลวงปู่ทองสุก “ปรารภความเพียร เริ่มบำเพ็ญกัมมัฏฐานอย่างจริงจัง เมื่อสงสัยอะไรก็ได้สามเณรประมัยเป็นที่ปรึกษา...หลังจากที่จำพรรษาที่บ้านคางแล้ว ท่านเดินธุดงค์ จากนั้นเพื่อติดตามท่านพระอาจารย์ ‘มั่น ภูริทตฺตเถระ’ เรื่อยไป จากประจวบคีรีขันธ์ลงมา เขาเต่า ไปทางจังหวัดสุพรรณบุรี เดินผ่านดงไปจะไปอุตรดิตถ์ ไม่เคยเดินทางลัด ไปหลงอยู่ในดง 3 วัน ไม่มีบ้านคนเลย นอนอยู่ในป่าใหญ่ มีแต่เสียงช้างเสียงเสือ...” ที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ นี่เองที่วันหนึ่งท่านไปพบเชิงเขา ซึ่งมีถ้ำใหญ่และอากาศก็เย็นสบาย เหมาะแก่การพักแรมอยู่แห่งหนึ่ง พอปลงบริขารพักแรม นั่งสมาธิอยู่ที่ปากถ้ำ จิตดำเนิน|สู่สมาธิไปจนดึกจึงถอนออกมา พลันรู้สึกว่ามีใครมานั่งอยู่ข้างๆ พอหัน|กลับมาดูแล้วถึงกับตัวชาไปทั้งร่างราวถูกคนเอาน้ำเย็นราดตั้งแต่ศีรษะยันปลายเท้า เพราะเห็นเสือตัวใหญ่นั่งอยู่ห่างออกไปแค่สองศอก ท่านว่า เห็นดังนั้นแล้วได้แต่รีบกำหนดสติ กลับมาภาวนาพุทโธ แผ่เมตตา จนฟ้าสางถึงถอนออกจากสมาธิ ไม่เพียงแต่จาริกไปตามข้อมูลที่ปรากฏในประวัติพระมหาทองสุก ถ้าพลิกหนังสือ เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา หนังสือประวัติท่านพระพุทธทาส สัมภาษณ์ไว้โดย อดีตพระประชา ปสนฺนธมฺโม ก็จะพบว่า ครั้งหนึ่งสามเณรประมัยและพระราชมุนีโฮมจาริกไปถึงสวนโมกข์ [[อำเภอไชยา]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]]
 
ท่านพุทธทาสภิกขุ เล่าเรื่องพระราชมุนีมหาโฮมในช่วงวัย 28โสภโณไว้ว่า ปี ไว้ว่า “'''...มหาโฮมเขาทำสมาธิ สนใจเรื่องผี คุยกันว่าที่บ้านแกเต็มไปด้วยผี ประชาชนนับถือผีไม่รู้กี่ชนิดต่อกี่ชนิด ยุ่งยากไปหมดเกี่ยวกับเรื่องผี มาชวนผมไปปราบผี ต่อมากลับไปอยู่วัดสระปทุม ได้เป็นเจ้าคุณอะไร...'''
ท่านพุทธทาส เล่าว่า ขณะสามเณรประมัยไปอยู่ที่สวนโมกข์นั้น เป็นช่วงที่ท่านกำลังมุ่งมั่นค้นคว้าพระไตรปิฎก และมิได้วางสัมพันธ์กับชาวบ้านเยี่ยงขนบเดิมๆ ที่คนเป็นสมภารทั้งหลายทำกันเลย ขณะนั้น “...มีพระอื่นมาเทศน์บ้างสักครั้งสองครั้ง พระสมุห์แช่มดูเหมือนจะเคยสักที อีกคนที่ชาวบ้านชอบคือสามเณรประมัยเทศน์หลายหน ชาวบ้านชอบมากกว่าผมอีก เขาพูดจาโผงผางดี ชัดเจนดี เรื่องๆ เดียวกันแต่เขาพูดน่าฟังกว่า เป็นเณรโตอายุมากแล้ว เขาธุดงค์มากับมหาโฮม รู้เรื่องสวนโมกข์จากหนังสือพิมพ์พุทธศาสนา เขาธุดงค์กันมา ตอนแรกคิดจะสร้างวัดป่าแบบป่าช้าที่ประจวบฯ แต่ไม่สำเร็จ จึงเลยมาที่นี่ มหาโฮมอยู่ราว 2 เดือนก็กลับ ...”
 
พระราชมุนีมหาโฮม โสภโณ มิได้เดินปริยัติและปฏิบัติแต่เฉพาะในวัยหนุ่มเท่านั้น [[พระมหาถาวรเทพวิมลญาณ]] เล่าภาพที่ปรากฏต่อมาเมื่อยามที่ท่านเจริญวัย เจริญธรรม จนเป็นพระผู้ใหญ่แล้วว่า ปกติท่านจะเลิกจำวัดในเวลา 04.00 น. หลังเสร็จกิจส่วนตัวแล้วจะเริ่มสวดมนต์ไปกระทั่ง 6 โมงเช้า ไม่เพียงแต่ทำวัตรเช้า ช่วงทำวัตรเย็นท่านก็จะสวดมนต์ยาวมากด้วยเสียงดังฟังชัด
ท่านพุทธทาสเล่าเรื่องพระราชมุนีโฮมในช่วงวัย 28 ปี ไว้ว่า “มหาโฮมเขาทำสมาธิ สนใจเรื่องผี คุยกันว่าที่บ้านแกเต็มไปด้วยผี ประชาชนนับถือผีไม่รู้กี่ชนิดต่อกี่ชนิด ยุ่งยากไปหมดเกี่ยวกับเรื่องผี มาชวนผมไปปราบผี ต่อมากลับไปอยู่วัดสระปทุม ได้เป็นเจ้าคุณอะไร...”
 
พระราชมุนีโฮมมิได้เดินปริยัติและปฏิบัติแต่เฉพาะในวัยหนุ่มเท่านั้น พระมหาถาวรเล่าภาพที่ปรากฏต่อมาเมื่อยามที่ท่านเจริญวัย เจริญธรรม จนเป็นพระผู้ใหญ่แล้วว่า ปกติท่านจะเลิกจำวัดในเวลา 04.00 น. หลังเสร็จกิจส่วนตัวแล้วจะเริ่มสวดมนต์ไปกระทั่ง 6 โมงเช้า ไม่เพียงแต่ทำวัตรเช้า ช่วงทำวัตรเย็นท่านก็จะสวดมนต์ยาวมากด้วยเสียงดังฟังชัด
 
== การสาธารณสงเคราะห์ ==