ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมโมไนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{Taxobox
| name = แอมโมไนต์<br />Ammonite
| fossil_range = {{fossil range|200409|6566.5}} ต้นยุคจูแรสสิคดีโวเนียน – ปลายยุคครีเทเชียส
| image = Asteroceras BW.jpg
| image_width = 250px
บรรทัด 9:
| regnum = [[สัตว์]]
| phylum = [[Mollusca]]
| classis = [[Cephalopod]]a
| subclassis = [[Ammonoidea]]
| ordo = '''Ammonitida'''
บรรทัด 23:
[[ไฟล์:Haeckel Ammonitida.jpg|thumb|แอมโมไนต์ แบบต่างๆ ]]
 
'''แอมโมไนต์''' ({{lang-en|Ammonite}}) เป็นสัตว์ประเภท[[นอติลอยด์เซฟาโลพอด]]ชนิดหนึ่ง มนุษย์ในอดีตพบมันมานานแล้ว แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นอะไร มนุษย์ในยุคนั้นคิดว่ามันเป็นซากของ[[งู]] ที่ตายและคดตัวเป็นวงกลม แอมโมไนต์สามารถพบได้หลายที่บนโลก รวมทั้ง[[ประเทศไทย]]ด้วย มันมีอยู่หลากหลายชนิด และพบได้ทั่วไปในทะเลดึกดำบรรพ์นับตั้งแต่ยุค[[ดีโวเนียน]] จนกระทั่งมันสูญพันธุ์ไปพร้อมกับ[[ไดโนเสาร์]] เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ในช่วงปลาย[[ยุคครีเทเชียส]] แอมโมไนต์วิวัฒนาการไปเป็น ปลาหมึก หอย และ [[หอยงวงช้าง]] แอมโมไนต์มีขนาดตั้งแต่ 23 [[เซนติเมตร]] (9 นิ้ว) ไปจนถึง 2 เมตร แอมโมไนต์เป็นสัตว์พวกหอยโบราณ ที่เกิดในมหายุคพาลีโอโซอิกจนถึงมหายุคมีโสโซอิกอาศัยในทะเล ปัจจุบันพวกที่สืบทอดมาได้แก่ ปลาหมึกกล้วย ปลาหมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง
 
แม้แอมโมไนต์จะมีรูปร่างหน้าตาคล้ายสัตว์จำพวก[[นอติลอยด์]] แต่แท้จริงแล้วพวกมันมีความใกล้เคียงกับสัตว์จำพวก[[หมึก (สัตว์)|หมึก]]มากกว่า<ref>{{cite book|title=Ammonoid Paleobiology: From macroevolution to paleogeography|page=3-24|chapter=Ancestry, Origin and Early Evolution of Ammonoids|date=August 2015|series=Topics in Geobiology 44|doi=10.1007/978-94-017-9633-0_1|publisher=Springer |editor=Christian Klug |editor2=Dieter Korn |editor3=Kenneth De Baets |editor4=Isabelle Kruta |editor5=Royal H. Mapes|first1=Christian|last1=Klug|first2=Björn|last2=Kröger|first3=Jakob|last3=Vinther|first4=Dirk|last4=Fuchs}}</ref> และเนื่องจากพวกแอมโมไนต์มีวิวัฒนาการทางโครงสร้างและรูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเห็นเด่นชัด จึงมักนิยมใช้ซากของพวกแอมโมไนต์เป็น[[ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี]]
 
ชื่อ "แอมโมไนต์" มีที่มาจากการที่[[พลินีผู้อาวุโส]]เรียกซากดึกดำบรรพ์ของแอมโมไนต์ว่า "เขาของ[[อาเมิน|อัมมอน]] (ammonis cornua)" เนื่องจากพวกมันมีรูปร่างคล้ายเขาแกะ ซึ่งเป็นสิ่งที่มักจะปรากฎอยู่เป็นทั่วไปว่าเทพเจ้าองค์นั้นใส่อยู่