ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าซ็องจงแห่งโชซ็อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ชื่ออื่น|||พระเจ้าซ็องจง}}
{{Infobox royaltymonarch
| สี =
| ภาพ =
บรรทัด 8:
| full name = [[พระเจ้าซ็องจงแห่งโชซ็อน]]
|birth_date = [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2000]]
| death_date = [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2037]] ({{อายุปีและวัน|2000|8|19|2037|12|25}})
| succession = พระมหากษัตริย์แห่งเกาหลี
| father = [[องค์ชายรัชทายาทอึยคยอง]]
บรรทัด 15:
|queen = พระมเหสีคยองเฮ,<br /> อดีตพระมเหสีแจฮยอน,<br /> พระมเหสีจองฮย็อน
| พระราชสวามี =
| issue = [[องค์เจ้าชายยอนซันย็อนซัน]],[[พระเจ้าจุงจง]]
| dynasty = [[ราชวงศ์โชซ็อน|โชซ็อน]]
| reign = [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2012]]— [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2037]] ({{อายุปีและวัน|2012|12|31|2037|12|25}})
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| reign-type1 =
|reign1 =
|reign1 = 25 ปี
|predecessor = [[พระเจ้าเยจง]]
| successor = [[องค์เจ้าชายยอนซันกุนย็อนซัน]]
| วัดประจำรัชกาล =
}}
บรรทัด 39:
พระเจ้าซ็องจง มีพระนามเดิมคือ '''องค์ชายจาซาน''' (자산군, 者山君) ประสูติเมื่อค.ศ. 1457 เป็นพระโอรสขององค์ชายรัชทายาทอีกยอง (의경세자, 懿敬世子) และพระชายาซูบิน ตระกูลฮัน แต่ทว่าพระราชบิดาก็ได้สิ้นพระชนม์ไปในปีเดียวกัน องค์ชายแฮยางพระอนุชาขององค์ชายรัชทายาทอีกยองจึงได้เป็นองค์ชายรัชทายาทแทน และขึ้นครองบัลลังก์เมื่อค.ศ. 1468 เป็น[[พระเจ้าเยจงแห่งโชซอน|พระเจ้าเยจง]] (예종, 睿宗) ในค.ศ. 1467 องค์ชายจาซานทรงเปลี่ยนพระนามเป็น '''องค์ชายจัลซาน''' (잘산군, 乽山君) และอภิเษกกับธิดาของฮันมยองฮี (한명회, 韓明澮) คือ พระชายาชอนฮัน ตระกูลฮัน (천안군부인, 天安郡夫人 ภายหลังเป็น พระมเหสีคงฮเย (공혜왕후, 恭惠王后))
 
แต่พระเจ้าเยจงก็ทรงอยู่ในราชสมบัติได้ไม่นานสวรรคตไปเสียก่อนในค.ศ. 1469 โดยที่ทรงเหลือพระโอรสพระชนมายุสี่ชันษาไว้ คือ องค์ชายเจอัน (제안대군, 齋安大君) พระมเหสีจองฮี หรือ พระพันปีจาซ็อง ร่วมกับชินซุกจู (신숙주, 申淑舟) และฮันมยองฮี ได้ตัดสินพระทัยว่าองค์ชายเจอันนั้นพระชนมายุน้อยเกินกว่าจะเป็นกษัตริย์ และยกราชบัลลังก์ให้กับพระโอรสองค์โตขององค์ชายรัชทายาทอีกยอง คือองค์ชายโวลซาน (월산군, 月山君) แต่พระองค์นั้นมีพระพลานามัยไม่สู้ดีนัก จึงมอบราชบัลลังก์ให้แก่พระอนุชาขององค์ชายโวลซาน คือ องค์ชายจัลซาน
 
องค์ชายจัลซานจึงขึ้นครองราชสมบัติด้วยพระชนมายุเพียงสิบสามพระชันษา และมีพระอัยยิกาจาซ็อง (자성대왕대비, 慈聖大王大妃 เป็นผู้ว่าราชการแทนหลังม่าน (수렴청정, 垂簾聽政) พระเจ้าซ็องจงในต้นรัชกาลนั้นทรงเป็นเพียงกษัตริย์หุ่นเชิด อำนาจทั้งหมดตกแก่ชินซุกจู และฮันมยองฮี ซึ่งเป็นขุนนางที่มีอำนาจมาตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระเจ้าเซโจ]]พระอัยกาของพระเจ้าซ็องจง และเป็นผู้ผลักดันให้พระเจ้าซ็องจงได้เป็นกษัตริย์ในที่สุด พระเจ้าซ็องจงทรงสถาปนาพระราชบิดาองค์ชายรัชทายาทอีกยอง เป็น พระเจ้าทอกจง (덕종, 德宗) และพระชายาซูบินพระราชมารดาเป็น พระพันปีอินซู (인수대비, 仁粹大妃) ในค.ศ. 1474 กฎหมายประจำอาณาจักรหรือ''คยองกุกแดจอน'' (경국대전, 經國大典) ที่ชำระมาตั้งแต่สมัยของพระเจ้าเซโจก็ได้เสร็จสิ้นลง
 
เมื่อพระเจ้าซ็องจงขึ้นครองราชย์ได้มีการปูนบำเน็จขุนนางผู้มีความดีความชอบ (공신, 功臣) ซึ่งขุนนางกลุ่มนี้มีอภิสิทธิ์หลายอย่างและมีทรัพย์สินร่ำรวย<ref>http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C09/E0903.htm</ref> รวมทั้งดำรงตำแหน่งสำคัญระดับสูงของระบอบการปกครอง เรียกว่า กลุ่มขุนนางเก่า (훈구파, 勳舊派) ซึ่งมีอำนาจมาตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเซโจ เหตุการณ์ที่พระเจ้าเซโจทรงแย่งราชบัลลังก์มาจาก[[พระเจ้าทันจง]]และกวาดล้างขุนนางที่ต่อต้านทำให้เกิดนักปราชญ์ขึ้นกลุ่มใหม่ ที่ต้องลี้ภัยการเมืองไปอาศัยอยู่ตามป่าเขาถูกกีดกันจากวงราชการ เรียกว่า กลุ่มซาริม (사림파, 士林派) เมื่อพระเจ้าซ็องจงมีพระชนมายุครบยี่สิบชันษาเมื่อค.ศ. 1476 ทรงว่าราชการด้วยพระองค์เองและทรงดึงขุนนางกลุ่มซาริม นำโดยคิมจงจิก (김종직, 金宗直) เข้ามารับราชการในสามกรม (삼사, 司) เพื่อคานอำนาจกับกลุ่มขุนนางเก่า
 
พระเจ้าซ็องจงทรงได้รับการยกย่องว่าทรงเป็นกษัตริย์ตามแบบของลัทธิขงจื้อพระองค์แรกของราชวงศ์โจซ็อน ในรัชสมัยของพระองค์เกาหลีได้กลายเป็นสังคมขงจื้ออย่างเต็มตัว ในค.ศ. 1478 ทรงตั้ง''ฮงมุนกวาน'' (홍문관, 弘文館) <ref>http://www.koreaaward.com/kor/history/135</ref> ไว้เป็นสถานศึกษาและห้องสมุดคล้ายกับจีพยอนจอนของพระเจ้าเซจงมหาราช ฮงมุนกวานเมื่อรวมกับ''ซากันวอน'' (사간원, 司諫院) และ''ซาฮอนบู'' (사헌부, 司憲府) แล้วเรียกว่า สามกรม<ref>Jae Un-Kang, Jae Eun-Kang. ''The land of scholars: two thousand years of Korean Confucianism''.</ref> เป็นหน่วยงานที่คอยตรวจสอบการทำงานของขุนนางผู้ใหญ่กลุ่มขุนนางเก่า หรือแม้แต่องค์กษัตริย์เอง และเป็นที่สำหรับขุนนางกลุ่มซาริมที่จะเข้ามามีบทบาทในราชสำนัก<ref>http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C09/E0904.htm</ref> พระเจ้าซ็องจงยังทรงดำเนินนโยบายกดขี่พระพุทธศาสนาโดยการห้ามสร้างวัดและห้ามมิให้พระภิกษุเข้าเมืองฮันซ็อง พระเจ้าซ็องจงทรงเป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอและไร้ความเด็ดขาด ในราชบัลลังก์ของพระองค์เอง และอำนาจของพระองค์ ทรงถูกบั่นทอนลงอย่างมาก จากเหล่าขุนนางของพระองค์เอง และยังทรงถูกแทรกแซงจาก พระพันปีอินซู อีกด้วย
 
พระมเหสีจากตระกูลยุน ในอดีตเคยเล่นผูกพันและรักกับพระเจ้าซ็อนจงแต่เด็ก ทว่าถูกกำแพงชนชั้นปิดกั้นด้วยเหตุผลทางชนชั้นและครอบครัวกล่าวคือบิดาของพระมหสีถูกใส่ร้ายว่าเป็นกบฏ ตำแหน่งของบิดาพระมเหสีในตอนนั้นคือเจ้ากรมการศึกษาซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีในปัจจุบัน ครอบครัวของพระมเหสีจึงแทบถูกเนรเทศ ส่วนทางครอบครัวพระเจ้าซ็อนซ็องจงตอนนั้นแม้เป็นเพียงองค์ชายและยังไม่ได้อยู่ในวังแต่พระราชมารดาไม่โปรดที่พระเจ้าซ็อนซ็องจงออกไปเล่นและพบปะเช่นนั้น
 
ต่อมาพระมเหสียุนเข้าวังโดยการถวายตัวเป็นนางในแต่พระเจ้าซ็อนซ็องจงทรงลืมไปแล้วด้วยผ่านมาหลายสิบปี แต่ฟื้นความจำได้เพราะเคยหักตราหยกมอบให้พระมเหสีครึ่งนึงและเก็บไว้อีกครึ่งหนึ่ง พระมเหสีจึงได้เป็นพระสนมและเป็นพระมเหสีเพราะได้ให้ประสูติพระโอรสเมื่อ ค.ศ. 1476 ซึ่งพระเจ้าซ็องจงทรงสถาปนาขึ้นเป็นองค์ชายรัชทายาท พระมเหสียุน เป็นพระมเหสีที่มีอุปนิสัยอ่อนโยนและเป็นมิตรกับทุกๆคนเช่นเดียวกับมเหสีซุกยอน แต่เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นมเหสีที่เคร่งครัดในกฎระเบียบและมีความตรงไปตรงมาเป็นอย่างมาก จึงเป็นที่ไม่พอใจของเหล่าพระสนมเท่าไรนัก เนื่องจากพระสนมหลายคนไม่ปฏิบัติตัวอยู่ในกฎระเบียบของฝ่ายในจึงมักถูกลงโทษจากพระมเหสีอยู่บ่อยครั้ง ทำให้เหล่าสนมไม่พอใจและร่วมมือกันใส่ร้ายพระมเหสียุนต่างๆ นานา ประกอบกับพระมเหสียุนทรงมีเรื่องบาดหมางพระทัยกับพระเจ้าซ็องจงในเรื่องชู้สาวและการเสด็จออกเที่ยวกลางคืน รวมถึงเรื่องกับพระพันปีอินซู พระราชมารดาพระเจ้าซ็อนจงซ็องจง จนถึงขั้นทำให้พระพักตร์ของพระเจ้าซ็องจงได้รับบาดเจ็บเนื่องด้วยความหึงหวง เหตุเกิดจากระหว่างที่พระนางท้องพระเจ้าซ็องจงทรงทำตัวเหลวไหลออกเสพกามโลกีย์นอกวังกับนางโลมชื่อ "[[ออลูตง]]"{{อ้างอิง}} พระมเหสียุนผู้เคร่งครัดกฎระเบียบยอมแหกกฎปลอมตัวออกนอกวังเพื่อไปขอร้องออลูตงให้เลิกยุ่งเกี่ยวกับพระเจ้าซ็องจงถึงขึ้นลดตัวลงไปคำนับ เมื่อพระเจ้าซ็อนจงกลับเข้าวัง พระมเหสีผู้ทรงพระครรภ์จำเอามือพยายามจะเข้ากอดพระเจ้าซ็องจงที่ทรงเดินหนีแต่พระเจ้าซ็อนซ็องจงทรงผลักพระมเหสีที่ทรงพระครรภ์ พระมเหสีพยายามใช้มือที่ถือตราหยกเกาะเพื่อไม่ให้ล้มลงและกระทบกระเทือนถึงลูกที่อยู่ในท้อง จึงเอื้อมมือไปเกาะสิ่งที่อยู่ใกล้ที่สุดจึงทำให้พระพักตร์ของพระเจ้าซ็องจงมีบาดแผลเล็กน้อย แต่ทว่าเหตุการ์ณเหตุการณ์นี้นำมาซึ่งเหตุให้พระนางถูกปลดออกจากตำแหน่งและเนรเทศออกนอกวัง และเมื่อเสด็จออกไปอยู่นอกวังแล้ว พระนางก็ยังทรงถูกใส่ร้ายเช่นเดิมและด้วยความเข้าใจผิดของพระพันปีอินซู จึงได้มีพระเสาวนีย์ให้ประทานยาพิษแก่อดีตพระมเหสียุนจนสิ้นพระชนม์ไปในที่สุด โดยที่พระเจ้าซ็องจงมิได้ช่วยอะไรเลยนอกจากนี้ยังเป็นผู้ลงตราในราชโองการะประหารพระมเหสียุนด้วยยาพิษที่ทำให้ทรมานและกระอักเลือดตายอย่างช้าๆในที่สุด พระเจ้าซ็องจงสวรรคตเมื่อค.ศ. 1494 มีพระสุสานชื่อว่า ''ซ็อนรึง'' (선릉, 宣陵)
 
== พระนามเต็ม ==