ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรีไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นเนนเ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
นเนนเ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
ถึงสมัย[[รัตนโกสินทร์]] เริ่มจาก[[รัชกาลที่ 1]] เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก 1 ลูก รวมเป็น 2 ลูก ตัวผู้เสียงสูง ตัวเมียเสียงต่ำ [[รัชกาลที่ 2]] ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรง[[ซอสามสาย]] คู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้าฟาด และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทย [[บุหลันลอยเลื่อน]] รัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจาก[[เปิงมาง]]ของ[[มอญ]] พอใน[[รัชกาลที่ 3]] พัฒนาเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ มีการประดิษฐ์[[ระนาดทุ้ม]]คู่กับ[[ระนาดเอก]] และ[[ฆ้องวงเล็ก]]ให้คู่กับ[[ฆ้องวงใหญ่]]
 
[[รัชกาลที่ 4]] เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก [[รัชกาลที่ 5]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์|สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์]]ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ประกอบการแสดง[[ละครดึกดำบรรพ์]] ใน[[รัชกาลที่ 6]] นำวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่พาทย์มอญโดย[[หลวงประดิษฐไพเราะ]] (ศร ศิลปบรรเลง) มีการนำอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่เป็นครั้งแรก และนำเครื่องดนตรีต่างชาติ เช่น [[ขิม]] [[ออร์แกน]]ของฝรั่งมาผสมเป็นวงเครื่องสายผสม แล้วจึงเป็นดนตรีไทยที่เราได้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ ทั้งความแตกต่างระหว่างวงต่างๆ [[ผู้ประพันธ์]]ท่านต่างๆ (สมจิตร ล้วนดี)
 
== เครื่องดนตรีไทย ==