ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มบทความเกี่ยวกับดาวเสาร์
บรรทัด 22:
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็นยานสำรวจอวกาศที่องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐ หรือ [[นาซา]] (NASA) ปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 (16 วันหลังยานแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'') ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] เพื่อศึกษาและสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอกของระบบสุริยะ ปัจจุบันยานยังคงสื่อสารกับ[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network หรือ DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับโลก ด้วยระยะห่างของยานสำรวจที่อยู่ห่างจากโลกราว 145 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (21.7 พันล้านกิโลเมตร; 13.5 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019<ref name="voyager3">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=[[Jet Propulsion Laboratory]]|publisher=[[National Aeronautics and Space Administration]]|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref> จึงถือได้ว่าเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินผ่านเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ นอกจากนี้ในแผนเดิมมีการวางเส้นทางเพื่อบินผ่านเฉียด[[ดาวพลูโต]] แต่ได้เปลี่ยนมาเป็นการบินผ่านเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq2">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD2">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์เหล่านี้อีกด้วย
 
ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจหลักในการบินผ่านเฉียดดาวเสาร์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถือเป็นวัตถุสร้างโดยมนุษย์ชิ้นที่ 3 ที่สามารถหลุดพ้นจากอิทธิพลของระบบสุริยะ นอกจากนี้ในวันที่ 25 สิงหาคม ปีเดียวกัน ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' กลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้ข้ามผ่านอวกาศชั้น[[เฮลิโอพอส]]และได้เข้าสู่ชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]] (Interstellar Medium)<ref name="NYT-201309122">{{cite news|last=Barnes|first=Brooks|title=In a Breathtaking First, NASA Craft Exits the Solar System|url=https://www.nytimes.com/2013/09/13/science/in-a-breathtaking-first-nasa-craft-exits-the-solar-system.html|date=September 12, 2013|work=[[New York Times]]|accessdate=September 12, 2013}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง (Trajectory Correction Maneuver หรือ TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
บรรทัด 39:
=== ส่วนประกอบของยานฯ ===
[[ไฟล์:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|left|thumb|169x169px|จานสื่อสารเกณฑ์ขยายสูงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.7 เมตร หรือ 12 ฟุต]]
''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกสร้างขึ้นโดยศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (Jet Propulsion Laboratory หรือ JPL)<ref name="Landau CNN">{{cite news|last=Landau|first=Elizabeth|title=Voyager 1 becomes first human-made object to leave solar system|work=CNN|publisher=CNN|date=October 2, 2013|url=https://www.cnn.com/2013/09/12/tech/innovation/voyager-solar-system/|accessdate=May 29, 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=https://tools.wmflabs.org/makeref/|title=NASA Spacecraft Embarks on Historic Journey into Interstellar Space|work=NASA|date=September 12, 2013|accessdate=May 29, 2014|quote=NASA's Voyager 1 spacecraft officially is the first human-made object to venture into interstellar space.}}</ref><ref name="Trailblazer">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/viking/viking30_fs.html|title=Viking: Trailblazer for All Mars Research|work=NASA|date=June 22, 2006|accessdate=May 29, 2014|quote=All of these missions relied on Viking technologies. As it did for the [[Viking program]] team in 1976, Mars continues to hold a special fascination. Thanks to the dedication of men and women working at NASA centers across the country, the mysterious Mars of our past is becoming a much more familiar place.}}</ref> ตัวยานขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ไฮดราซีน 16 ตัว มี[[ไจโรสโคป]]รักษาตำแหน่งแบบ 3 แกน (three-axis stabilization gyroscopes) และระบบควบคุมยานที่คอยรักษาทิศทางของเสาวิทยุบนยานให้ชี้มายังโลก อุปกรณ์เหล่านี้จะเรียกรวมว่าเป็นระบบควบคุมทิศทางและตำแหน่งยาน (Attitude and Articulation Control Subsystem หรือ AACS) มาพร้อมกับระบบควบคุมสำรอง และเครื่องยนต์ไอพ่นสำรองอีก 8 ตัว นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ตรวจวัดทางวิทยาศาสตร์รวมกว่า 11 ชุดเพื่อใช้ทำการศึกษาเหล่า[[ดาวเคราะห์]]ที่ยานบินผ่านทำการสำรวจ<ref name="PDS-Host3">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/|title=VOYAGER 1:Host Information|date=1989|publisher=JPL|accessdate=April 29, 2015}}</ref>
 
==== ระบบการสื่อสาร ====
บรรทัด 450:
|-
| 25 สิงหาคม 2012
| ผ่านเข้าสู่อวกาศชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอพอส|เฮลิโอพอส]]ที่ระยะ 121 AU และเข้าสู่ช่วงช่องว่างระหว่างดวงดาว หรือ (Interstellar Space)
|-
| 7 กรกฎาคม 2014
| ยืนยันตำแหน่งของยานอยู่ในช่องว่างระหว่างดวงดาว หรือ (Interstellar Space)
|-
| 19 เมษายน 2016
บรรทัด 459:
|-
| 28 พฤศจิกายน 2017
| ทำการจุดเครื่องยนต์ปรับตำแหน่งวิถีโค้ง หรือ Trajectory Correction Maneuver (TCM) อีกครั้งนับตั้งแต่ปี 1980<ref>{{Cite news|url=https://www.nasa.gov/feature/jpl/voyager-1-fires-up-thrusters-after-37|title=Voyager 1 Fires Up Thrusters After 37 Years|last=Greicius|first=Tony|date=2017-12-01|work=NASA|access-date=2017-12-13|language=en}}</ref>
|}
 
บรรทัด 468:
 
{{legend2|magenta|''วอยเอจเจอร์ 1''}}{{·}}{{legend2|Royalblue|[[โลก]]}}{{·}}{{legend2|Cyan|[[ดาวพฤหัสบดี]]}}{{·}}{{legend2|Lime|[[ดาวเสาร์]]}}{{·}}{{legend2|Yellow|[[ดวงอาทิตย์]]}}|alt=]]
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ณ แท่นปล่อยจรวด 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]] ด้วยจรวดนำส่ง [[Titan IIIE]] ประมาณ 2 สัปดาห์หลังการส่งยานสำรวจ ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ขึ้นสู่อวกาศไปเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม แม้จะถูกส่งขึ้นอวกาศช้ากว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' แต่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ก็เดินทางถึงดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ได้ก่อน<ref name="nasa.jupiter">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ด้วยเส้นทางวิถีโค้ง (trajectory) ที่สั้นกว่า''<ref name="nasa.planetary">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/planetary.html|title=Planetary voyage|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>''
[[ไฟล์:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|alt=|thumb|แนวการเคลื่อนที่วิถึโค้งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านระบบดาวพฤหัสบดี]]
 
=== บินผ่านเฉียดดาวพฤหัสบดี ===
{{Main|การสำรวจดาวพฤหัสบดี}}''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มทำการถ่ายภาพดาวพฤหัสสบดีในปี ค.ศ. 1979 โดยบินเฉียดระยะใกล้มากที่สุดคือที่ระยะห่างประมาณ {{convert|349000|km|mi|abbr=off|sp=us}} จากจุดศูนย์กลางดาวเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979 และด้วยตำแน่งของยานที่อยู่ใกล้มากดาวพฤหัสบดี ทำให้ได้ภาพถ่ายที่มีรายละเอียดที่มากขึ้น ส่งผลให้ภารกิจการสังเกตการณ์ระบบของดาวพฤหัสบดีซึ่งได้แก่ เหล่าดาวบริวาร วงแหวน สนามแม่เหล็ก และสภาพแวดล้อมของแถบรังสี แวน แอลเลน (Van Allen Belts) เสร็จสิ้นภายใน 48 ชั่วโมงเท่านั้น ภารกิจการถ่ายภาพระบบดาวพฤหัสบดีเสร็จสิ้นลงในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1979
 
การค้นพบภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ (active volcanoes) บนดวงจันทร์[[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ไอโอ]]ถือว่าเป็นการค้นพบที่สร้างความฮือฮาที่สุด นับเป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบภูเขาไฟมีพลังบนดาวดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจากบนโลก อีกทั้งภูเขาไฟที่ครุกรุ่นเหล่านี้ยังส่งผลต่ออิทธิพลไปยังดาวพฤหัสบดีด้วย ดวงจันทร์ไอโอถือเป็นแหล่งของสสารหลักที่แผ่ไปทั่วชั้นแม็กนีโตสเฟียร์ (บริเวณโดยรอบของดาวฤกษ์ที่ได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงจากสนามแม่เหล็ก) ของดาวพฤหัสบดี โดยมีการค้นพบร่องรอยของ[[ซัลเฟอร์]] [[ออกซิเจน]] และ[[โซเดียม]]ที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟบนดวงจันทร์ไอโอบนปะปนอยู่ในขอบนอกของชั้นแม็กนีโตสเฟียร์ของดาวพฤหัสบดี<ref name="nasa.jupiter2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำได้เผยการค้นพบที่สำคัญของดาวพฤหัสบดีเป็นจำนวนมาก เช่น เหล่าดาวบริวาร แถบกัมมันตรังสี และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีที่ไม่เคยค้นพบมาก่อน
บรรทัด 487:
 
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Jupiter system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Jupiter encounter}}}}
 
=== บินเฉียดดาวเสาร์ ===
{{Main|การสำรวจดาวเสาร์}}
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำประสบความสำเร็จในการเดินแบบวิถีโค้งโดยอาศัยแรงโน้มถ่วง (gravitational assist trajectory) ของดาวเสาร์ของและได้ทำการสำรวจ[[ดาวเสาร์]] รวมถึงวงแหวน และเหล่าดาวบริวารของดาวเสาร์ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางมาถึงดาวเสาร์ในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1980 และในวันที่ 12 พฤศจิกายนปีเดียวกันนั้น ยานได้เดินทางเข้าใกล้ดาวเสาร์มากที่สุด โดยอยู่ห่างจากขอบบนของกลุ่มเมฆ (clound-tops) บนดาวที่ระยะ {{convert|124000|km|mi|-3|sp=us}} กล้องบนยานได้ตรวจพบโครงสร้างอันซับซ้อนบนวงแหวนของดาวเสาร์และใช้เซ็นเซอร์ระยะไกลทำการศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวเสาร์และดวงจันทร์ไททัน (Titan) ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์<ref name="nasa.saturn">{{cite web |url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/saturn.html |title=Encounter with saturn |publisher=NASA |accessdate=August 29, 2013 }}</ref>
 
== อนาคตของยานสำรวจฯ ==