ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จันทร์ธาดา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Paisley Liverpool (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 217:
และยังเป็นที่ทราบกันว่า พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญใน[[พฤษภาทมิฬ]] โดยมีพระบรมราชโองการเรียกพลเอก [[สุจินดา คราประยูร]] และหัวหน้ากลุ่มผู้ประท้วงเพื่อเรียกร้อง[[ประชาธิปไตย]] ให้เฝ้า และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ถ่ายทอดการนี้ออกอากาศสดได้ ในภาพทางโทรทัศน์ พระองค์ทรงขอให้คู่กรณียุติความรุนแรงและนำพาชาติบ้านเมืองไปสู่สันติ ซึ่งทั้งพลเอกสุจินดา คราประยูร และพลตรีจำลอง ศรีเมือง เห็นพ้องต้องกันในการที่จะให้รัฐบาลพลเรือนเข้ามาบริหารประเทศในสถานการณ์ดังกล่าว และที่สุดก็นำไปสู่การลาออกของพลเอก [[สุจินดา คราประยูร]] และการเลือกตั้งทั่วไป<ref name=autogenerated2>{{cite web |year=2000|url=http://www.rmaf.org.ph/Awardees/Biography/BiographySrimuangCha.htm |title=BIOGRAPHY of Chamlong Srimuang |work=The 1992 Ramon Magsaysay Award for Government Service|publisher=Ramon Magsaysay Award Foundation |accessdate=26 September 2007}}{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> <ref>The Revolutionary King : the True-life Sequel to the King and I |page=225 </ref>
 
ในเหตุการณ์ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]] พระองค์ทรงมี[[พระบรมราชานุญาต]]ให้[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] ทำการบันทึกภาพและเสียงระหว่างการเข้าเฝ้าของพลเอก [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] และคณะ<ref>[http://www.siamintelligence.com/history-on-19-september-2006-coup/ ย้อนรอย รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 “ปรากฏการณ์” และ “เบื้องลึก”]</ref>การที่ทรงมีพระบรมราชานุญาตดังกล่าวเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางเนื่องจากปกติพระองค์ไม่มีพระบรมราชานุญาตให้มีการถ่ายทอดสดออก[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]]อีกทั้งคณะรัฐประหารยังได้เข้าเฝ้า[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] แม้การที่คณะรัฐประหารได้เข้าเฝ้าภายหลังการรัฐประหารไม่กี่ชั่วโมงจะถูกมองว่าสถาบันกษัตริย์สนับสนุนการรัฐประหาร<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-38146620 ระเบียงทัศน์ : ฤๅกษัตริย์สกัดประชาธิปไตย]</ref> แต่การที่พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุญาตดังกล่าว นักวิชาการ{{who}}มีความเห็นว่า เป็นสิ่งเดียวที่พระองค์สามารถกระทำได้ เพื่อแสดงออกว่าไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหารในครั้งนั้น{{citation needed}}
ในช่วงหลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]] การตั้งคำถามและการวิจารณ์บทบาทของพระองค์ในวิกฤตการณ์การเมืองไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากสื่อนานาชาติ<ref>