ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริพันธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
บรรทัด 10:
แล้วปริพันธ์ของฟังก์ชัน ''f'' ระหว่าง ''a'' กับ ''b'' ก็คือการวัดขนาดของ ''S'' นั่นเอง
 
[[กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]] ได้ใช้เครื่องหมาย [[s ยาว]] แทนสัญลักษณ์ของปริพันธ์ ปริพันธ์ในย่อหน้าที่แล้วจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ <math>\int_a^b f(x)\,dx</math>. โดยสัญลักษณ์ &int; หมายถึงการหาปริพันธ์, ''a'' และ ''b'' หมายถึงขอบเขตของช่วงที่เราจะหา, ''f''(''x'') คือฟังก์ชันที่เราต้องการหาปริพันธ์ และ ''dx'' แทนตัวแปรที่จะหาปริพันธ์ ซึ่งในอดีต ''dx'' จะแทน ปริมาณที่เล็กมากๆมาก ๆ และ s ยาว นั้นมาจากคำว่า "sum" ซึ่งแปลว่าผลบวก
 
ตัวอย่างเช่น ให้ ''f''(''x'') = 3 ปริพันธ์ของ 0 ถึง 10 ก็คือพื้นที่ที่ล้อมด้วยเส้น ''x'' = 0, ''x'' = 10, ''y'' = 0, และ ''y'' = 3 ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมรูปนี้จึงเท่ากับความยาวคูณความสูง ค่าของปริพันธ์จึงเท่ากับ 30