ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 387:
=== ด้านการพัฒนาชนบท ===
[[ไฟล์:Bhumibol Adulyadej in Kachanaburi (26.10.1963) 03.jpg|thumb|left|เสด็จเยี่ยมพสกนิกรที่ [[จังหวัดกาญจนบุรี]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2506]]]]
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ตลอดรัชสมัยไปกับการเสด็จฯเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นต่างๆต่าง ๆ ทุกภูมิภาคของประเทศ นับตั้งแต่ [[พ.ศ. 2497]]<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9590000104156 เสด็จเยี่ยมราษฎร ๔ ภาคครั้งแรกในรัชกาล ทรงสร้างประวัติศาสตร์ไม่เหลือช่องว่างระหว่างกษัตริย์กับราษฎร]{{dead link|date=August 2018}} ผู้จัดการ,สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560</ref> โดยเฉพาะในแทบที่ชนบททุรกันดาร เพื่อทรงเยี่ยมเยียน ซักถามเรื่องความเป็นอยู่และสารทุกข์สุกดิบของประชาชน นอกจากนี้พระองค์จะทรงศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ ด้วยพระองค์เองด้วยแผนที่หรือเอกสารต่าง ๆ ทำให้ทรงรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน หลังจากนั้นพระองค์ก็จะทรงคิดค้นแนวทางพระราชดำริเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่าง ๆในแต่ละพื้นที่<ref>[https://web.ku.ac.th/king72/2521/page05.htm ทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นต่างๆ], สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560</ref>
 
พระองค์จะทรงพัฒนาชนบทในรูปโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีจุดประสงค์ คือ การพัฒนาบทเพื่อให้ราษฎรในชนบทได้มีความเป็นอยู่ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพ เลี้ยงครอบครัวให้ดีขึ้น<ref>[http://www.belovedking.com/index.php?option=com_content&view=article&id=59&Itemid=9 การพัฒนาชนบท]{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}} พระราชกรณีกิจในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</ref> แนวพระราชดำริที่สำคัญในเรื่องการพัฒนาชนบท คือมีพระราชประสงค์ช่วยให้ชาวชนบทสามารถช่วยเหลือพึ่งตนเองได้ โดยการสร้างพื้นฐานหลักที่จำเป็นต่อการผลิตให้แก่ราษฎรเหล่านั้น<ref>{{อ้างหนังสือ|| ผู้แต่ง = ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา || ชื่อหนังสือ = พระทรงเป็นพลังแผ่นดิน || URL = || จังหวัด = กรุงเทพ|| พิมพ์ที่ = รุ่งศิลป์การพิมพ์|| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551|| ISBN = 974-458-229-4 || หน้า = หน้าที่ 40|| จำนวนหน้า =}}</ref> ทรงส่งเสริมให้ชาวชนบทมีความรู้ในการประกอบอาชีพตามแต่ละท้องถิ่น นอกจากนี้ยังทรงหาทางนำเอาวิทยาการสมัยใหม่มาประยุกต์กับภูมิปัญญาชาวบ้าน<ref>{{อ้างหนังสือ|| ผู้แต่ง = ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา || ชื่อหนังสือ = พระทรงเป็นพลังแผ่นดิน || URL = || จังหวัด = กรุงเทพ|| พิมพ์ที่ = รุ่งศิลป์การพิมพ์|| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551|| ISBN = 974-458-229-4 || หน้า = หน้าที่ 41|| จำนวนหน้า =}}</ref>