ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนรังษีวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ปีพุทธศักราช" → "พ.ศ." ด้วยสจห.
บรรทัด 9:
| คำขวัญ = สุขภาพดี มีปัญญา ศรัทธามั่น หมั่นบริการ
| ปรัชญาการศึกษา = การศึกษาเพื่อชัวิตที่ดี
| ก่อตั้ง = 31 ตุลาคม ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2491
| ประเภท = โรงเรียนเอกชน
| ผู้จัดการ-อาจารย์ใหญ่ = นายสถาพร ลิ่มผดุง
บรรทัด 22:
 
== ประวัติ ==
โรงเรียนรังษีวิทยา ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2491 โดยศาสนาจารย์ทองคำ พันธุพงศ์ ( ประธานคริสตจักรภาคที่ 1 ) ร่วมกับผู้ปกครองเมือง จานิต (คณะกรรมการธรรมกิจคริสตจักรที่ 1 ฝาง) ได้บริจาคที่ดินส่วนตัวจำนวน 1 ไร่กับ 2 งาน เป็นที่ตั้งโรงเรียนในบ้านสบมาว อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (บริเวณบ้านพักศิษยาภิบาล คริสตจักรที่ 1 ฝาง ในปัจจุบัน) โดยให้ใช้ชื่อว่า “ โรงเรียนรังษีวิทยา ” แต่งตั้งให้ผู้ปกครองดวงแสง แสงบุญเรือง เป็นเจ้าของโรงเรียน นายจู เข็มเล็ก เป็นผู้จัดการและมี นางจันทร์คำ รัตนบุตร เป็นครูใหญ่ เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 1 ( หมายเหตุ
รายวัน , 2531 : 1)
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2492 นายอุ่น แสงจันทร์ ได้รับโอนกิจการโรงเรียนฯ จากคริสตจักรภาคที่ 1 เนื่องจากคริสตจักรไม่สามารถดำเนินกิจการไปได้ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2492 ตามใบอนุญาตเลขที่ 3 / 2492 ออกโดยข้าหลวงประจำจังหวัด ( ใบอนุญาตเกี่ยวกับโรงเรียนรังษีวิทยา เล่ม 1 : หน้า 1 ) เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินกิจการของโรงเรียนฯ นายอุ่น แสงจันทร์ ได้แต่งตั้งให้นายเสาร์ เชษชมภู ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการโรงเรียน ส่วนครูใหญ่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเป็นผู้ใด ทั้งนี้ โรงเรียนฯ ได้เปลี่ยนตัวบุคคลทำหน้าที่เป็นผู้บริหารมาเป็นระยะๆ โรงเรียนได้พัฒนา ดังนี้
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2507 วันที่ 17 พฤษภาคม ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2507นายอุ่น แสงจันทร์ ได้ย้ายสถานที่โรงเรียนจากบ้านสบมาว ไปอยู่ริมถนนโชตนา หมู่ 9 ต าบลเวียง อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอาคาร 2ชั้น ครึ่งตึกครึ่งไม้ จ านวน 12 ห้องเรียน เนื้อที่ 12 ไร่ ( แบบ ร.19 , 2491 : 6 ) นายนพ เมธา ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้จัดการ และอนุญาตให้รับนักเรียนเป็นสหศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ใบอนุญาตเลขที่ 112 / 2507 (ใบอนุญาตเกี่ยวกับโรงเรียนรังษีวิทยา เล่ม 1 : หน้า 3 ) กิจการของโรงเรียนภายใต้การดูแลของนายอุ่น แสงจันทร์ ได้พัฒนามาโดยตลอดเป็นเวลา 20 ปี
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2512 นายอุ่น แสงจันทร์ ได้โอนกิจการโรงเรียนรังษีวิทยาแก่นายแพทย์พิพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลแมคคอร์มิค ( ใบอนุญาตเกี่ยวกับโรงเรียนรัษีวิทยา เล่ม 1 : หน้า 5 – 18 ) ในช่วงที่นายแพทย์พิพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ซึ่งเป็นผู้รับใบอนุญาต โรงเรียนฯได้พัฒนาด้านต่างๆ ดังนี้
 
* ประวัติความเป็นมาปีพุทธศักราชพ.ศ. 2522 ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนชั้นอนุบาลศึกษา อนุญาตเลขที่ 375 / 2522 ( ใบอนุญาตเกี่ยวกับโรงเรียน รังษีวิทยา เล่ม 1 : หน้า 21 )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2524 ได้รับอนุญาตให้ใช้อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ชั้นเดียว 3 ห้องเรียน อนุญาตเลขที่ 8 / 2542
** ได้รับอนุญาตให้ใช้อาคารคอนกรีตชั้นเดียว 1 หลัง จำนวน 6 ห้อง ห้องพักครู 1 อนุญาตเลขที่ 9 / 2524
** ได้รับอนุญาตให้ใช้อาคารไม้ชั้นเดียวจำนวน 4 ห้องเรียน อนุญาตเลขที่ 10 / 2524
บรรทัด 40:
** ได้รับการรับรองวิทยฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการ นายแพทย์พิพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ได้ดำเนินและพัฒนากิจการโรงเรียนฯ มาเป็นเวลา 20 ปี
 
ต่อมาในปีพุทธศักราชพ.ศ. 2531 นายแพทย์พิพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ได้โอนกิจการโรงเรียนให้กับมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน
ประเทศไทย เป็นผู้ดำเนินกิจการต่อไป โดยนายอรุณ ทองดอนเหมือน เป็นผู้ลงนามแทน ( ใบอนุญาตเกี่ยวกับโรงเรียนรังษี
วิทยา เล่ม 1 : หน้า 27 – 29 )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2531 เป็นต้นมา โรงเรียนรังษีวิทยา ได้ดำเนินกิจการภายใต้มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยมีการจัดการบริหารเต็มรูปแบบ ตามระเบียบมูลนิธิฯ และตามพระราชบัญญัติการศึกษาเอกชน โดยแต่งตั้งให้มีคณะกรรมการบริหาร ( อำนวยการ ) โรงเรียน ประธานกรรมการบริหาร ( อำนวยการ ) โรงเรียน ทำหน้าที่เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาตโดยตำแหน่ง อยู่ในวาระคราวละ 4 ปี ตามระเบียบข้อบังคับการบริหารหน่วยงานสถาบันของสภาคริสตจักรในประเทศไทยและมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2531 โดยมอบหมายให้ศาสนาจารย์บุญศักดิ์ จงวัฒนา ท าหน้าที่เป็นผู้แทนผู้รับใบอนุญาต ซึ่งในขณะนั้น นายเกรียงศักดิ์ โกมลรัตน์ ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการ จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม พุทธศักราช 2531 จากนั้น มูลนิธิฯได้แต่งตั้งผู้ปกครองเกษม ตรีอินทอง เป็นผู้จัดการ เมื่อวันที่ 1 กันยายน พุทธศักราช 2531 และลาออก เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พุทธศักราช 2532
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2531 จนถึง 2546 ศาสนาจารย์บุญศักดิ์ จงวัฒนา ได้รับการแต่งตั้งจากมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ให้เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต ( โรงเรียนรังษีวิทยา,2542 : 30) โดยมีผู้ปกครองสถาพร ลิ่มผดุง ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการและอาจารย์ใหญ่ (โรงเรียนรังษีวิทยา , 2542 : 54 – 55 )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2532 มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ได้แต่งตั้งให้ผู้ปกครองสถาพร ลิ่มผดุง เป็นผู้จัดการและอาจารย์ใหญ่ ( ผู้อำนวยการ ) ตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พุทธศักราช 2532 จนถึง วันที่ 30 เมษายน พุทธศักราช 2552 เป็นเวลากว่า 20 ปี ( หมายเหตุรายวัน , 2552 : 5 )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2546 จนถึง 2552 ผู้ปกครองสมบูรณ์ ปัญญาพฤกษ์ ได้รับการแต่งตั้งจากมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ให้เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต โดยมีผู้ปกครองสถาพร ลิ่มผดุง ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการและอาจารย์ใหญ่ ( ผู้อำนวยการ )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2552 จนถึง 2554 ผู้ปกครองสมบูรณ์ ปัญญาพฤกษ์ ได้รับการแต่งตั้งจากมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ให้เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต โดยมี ศาสนาจารย์อรรถพงษ์ กมลรัตน์ ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการ และ นางทัศนีย์ ลิ่มผดุง ทำหน้าที่เป็น ผู้อำนวยการ
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2552 มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ได้แต่งตั้งศาสนาจารย์อรรถพงษ์ กมลรัตน์ เป็นผู้จัดการและแต่งตั้งให้นางทัศนีย์ ลิ่มผดุง เป็นผู้อำนวยการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พุทธศักราช 2552 จนถึง ปัจจุบัน ( หมายเหตุรายวัย , 2552 : 5 )
 
* ปีพุทธศักราชพ.ศ. 2554 ผู้ปกครองชัชวาล ไชยเศรษฐ ได้รับการแต่งตั้งจากมูลนิธิแห่ง สภาคริสตจักรใน ประเทศไทย ให้เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต โดยมี ศาสนาจารย์อรรถพงษ์ กมลรัตน์ ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการ และนางทัศนีย์ ลิ่มผดุง ทำหน้าที่เป็น ผู้อำนวยการ
 
* ในปีพุทธศักราชในพ.ศ. 2559 ศานาจารย์ไตรรัตน์ ทองสัมฤทธิ์ ทำหน้าที่เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต โดยแต่งตั้งให้ อาจารย์สมาน ไชยสถาน ดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการ และรักษาการผู้อำนวยการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึง ปัจจุบัน
 
== บุคคลที่มีชื่อเสียง ==