ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
+ 5 หมวดหมู่ด้วยฮอทแคต
PointlessUsername (คุย | ส่วนร่วม)
แก้การสะกด
บรรทัด 20:
}}
 
'''สนธิสัญญาแอนตาร์กติก'''และความตกลงที่เกี่ยวข้อง รวมเรียก '''ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก''' ({{lang-en|Antarctic Treaty System, ย่อ: ATS}}) วางระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ[[ทวีปแอนตาร์กติกา]] สำหรับวัตถุประสงค์ของระบบสนธิสัญญาฯ มีการนิยาม "แอนตาร์กติกา" ว่าหมายถึงแผ่นดินและหิ้งน้ำแข็งทั้งหมดที่อยู่ใต้ละติจูด 60°ใต้ สนธิสัญญาฯ มีผลใช้บังคับในปี 2504 และปัจจุบันมีภาคี 53 ประเทศ<ref name="depositary">{{cite web |url= https://www.state.gov/documents/organization/81421.pdf |title=The Antarctic Treaty |date=2012-03-01 |publisher=[[United States Department of State]] |accessdate=2014-03-12}}</ref> สนธิสัญญาฯ กันทวีปแอนตาร์กติกาไว้เพื่อการอนุรักษ์ทางวิยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ จัดตั้งเสรีภาพการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์และห้ามกิจกรรมทางทหารบนทวีป สนธิสัญญาฯ เป็นความตกลงควบคุมอาวุธความตกลงแรกซึ่งจัดตั้งขึ้นระหว่าง[[สงครามเย็น]] นับแต่เดือนกันยายน 2547 สำนักงานใหญ่เลขาธิการสนธิสัญญาแอนตาร์กติกตั้งอยู่ในกรุง[[บัวโนสไอเรส]] [[ประเทศอาร์เจนตินา]]<ref>[http://www.ats.aq/index_e.htm ATS.aq]</ref>
 
สนธิสัญญาหลักเปิดให้ลงนามเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2502<ref name=Brit>"Antarctic Treaty" in ''[[Encyclopædia Britannica|The New Encyclopædia Britannica]]''. Chicago: [[Encyclopædia Britannica Inc.]], 15th edn., 1992, Vol. 1, p. 439.</ref> และมีผลใช้บังคับอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2504<ref>{{cite web
บรรทัด 27:
|accessdate=February 6, 2011
|date=December 28, 2005
|publisher=Polar Conservation Organisation}}</ref> ผู้ลงนามดั้งเดิมเป็น 12 ประเทศซึ่งมีกิจกรรมในทวีปแอนตาร์กติการะหว่างปีธรณีฟิสิกส์สากล 2500–2501 สิบสองประเศประเทศซึ่งมีผลประโยชน์สำคัญในทวีปแอนตาร์กติกาในเวลานั้น ได้แก่ ประเทศอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลเยียม ชิลี ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ แอฟริกาใต้ สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐ<ref name=Brit/> ประเทศเหล่านี้ตั้งสถานีในทว่ีปแอนตาร์กติกากว่าทวีปแอนตาร์กติกากว่า 50 สถานีสำหรับปีธรณีฟิสิกส์สากล
 
== อ้างอิง ==