ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลูตาเมต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11:
 
==แหล่งอาหารและการดูดซึม==
กรดกลูตามิกลูตามิกหรือกลูตาเมตมีอยู่ในอาหารมากมายหลายชนิดตามธรรมชาติ เกลือโซเดียมกลูตาเมตทั้งที่อยู่ในรูปของโปรตีนในอาหาร และกลูตามเมตอิสระ (มอนอโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารปรุงแต่งกรดอมิโนตัวเดี่ยวๆ) ซึ่งมีทั้งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและจากเครื่องปรุงรสที่เติมลงไปในอาหาร เช่น [[น้ำปลา]] [[ซีอิ้ว]] และ[[ผงชูรส]] ([[โมโนโซเดียมกลูตาเมต]]) กลูตาเมตอิสระในอาหารทำหน้าที่ให้รสชาติที่ชื่อว่า รส[[อูมามิ]] หรือ รสอร่อยกลมกล่อม โดยกระตุ้นตัวรับการจับกับ Umami Receptor ที่อยู่บนผิวเซลล์ของ[[ต่อมรับรส]]ที่อยู่บน[[ลิ้น]] กรดกลูตามิกกลูตาเมตที่อยู่ในอาหารไม่ว่าจะมาจากแหล่งใด รวมทั้งที่อยู่ในรูปของผงชูรส ประมาณร้อยละ 95 จะเกิดการถูก[[สันดาป]]ที่เซลล์ใน[[ลำไส้เล็ก]]
 
==เภสัชวิทยา==