ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: '''สัต''' หรือ '''ความเป็น''' ({{lang-en|being}}, {{lang-el|ὤν}}) ในทางปรัชญาหมายถึง สิ่งท...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
[[มาร์ติน ไฮเดกเกอร์]] นักปรัชญาชาวเยอรมัน เป็นผู้นำแนวคิดทางภววิยาเรื่อง "สัต" กลับมาศึกษาใหม่โดยละเอียด และใช้คำเยอรมันว่า Dasein เพื่อพัฒนาทฤษฎีของตนเกี่ยวกับสัต จนนำไปสู่การตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มสำคัญเมื่อ ปี ค.ศ. 1927 เรื่อง Sein und Zeit หรือ Being and Time (ภาวะกับกาล). ไฮเดกเกอร์เชื่อว่าความคิดเกี่ยวกับ "สัต" เป็นมโนทัศน์ที่ลึกที่สุดของปรัชญาตะวันตก ที่ไม่ได้รับความเอาใจใส่จากวงการปรัชญา มาตั้งแต่สมัยหลังอริสโตเติ้ล. ไฮเดกเกอร์มีอิทธิพลกว้างขวางมากต่อวงการปรัชญาสมัยใหม่ในภาคพื้นทวีปยุโรป ทำให้มีการหยิบยืมหลักการทางภววิทยาของไฮเดกเกอร์มาใช้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมนุษย์ จิตวิทยามนุษย์ และความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสื่อ และเทคโนโลยี อย่างกว้างขวาง
[[fileไฟล์:Being and Time (German edition).jpg]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สัต"