ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิกโลช โฮร์ตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7407236 สร้างโดย Zzaqwerff3 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
}}
 
'''วิเตซ<ref>"วิเตซ" (Vitéz) หมายถึงระดับชั้นอัศวินระดับหนึ่งที่มิกโลช โฮร์ตี ตั้งขึ้น; "วิเตซ" มีความหมายตามตัวอักษรว่า "อัศวิน" หรือ "กล้าหาญ"</ref> '''มิกโลช โฮร์ตี แห่งน็อจบาญอ''' แห่งน็อจบาญอ ({{lang-hu|nagybányai Horthy Miklós}}, {{IPA-hu|ˈnɒɟbaːɲɒi ˈhorti ˈmikloːʃ}}; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: '''Nicholas Horthy''';<ref>Owen Rutter, Averil Mackenzie-Grieve, Lily Doblhoff (baroness.): Regent of Hungary: the authorized life of Admiral Nicholas Horthy</ref> {{lang-de|Nikolaus Horthy Ritter von Nagybánya}}) เป็น[[พลเรือเอก]]และ[[รัฐบุรุษ]][[ชาวฮังการี]] เขาดำรงตำแหน่งที่ได้กลายเป็นผู้สำเร็จราชการแห่ง[[ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)|ราชอาณาจักรฮังการี]]ใน เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งอาณาจักรฮังการี[[สมัยฮังการีในช่วงสงครามโลกสองครั้ง|ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง]]และตลอดส่วนมากในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1920 ถึง 15 ตุลาคม ค.ศ. 1944 เขาได้ถูกขนามนามว่า "ฮิสเซอรีนไฮเนส ผู้สำเร็จราชการแห่งอาณาจักรฮังการี"(ฮังการี: ''Ő Főméltósága a Magyar Királyság Kormányzója'')
 
โฮร์ตีได้เริ่มอาชีพของเขาในฐานะที่เป็นเรือตรีในกองทัพเรือออสเตรีย-ฮังการีในปี ค.ศ. 1896 และได้รับยศตำแหน่งเป็นพลเรือตรีในปี ค.ศ. 1918 เขาได้แสดงถึงการปฏิบัติหน้าที่ในยุทธการที่ Strait of Otranto และกลายเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเรือออสเตรีย-ฮังการีในช่วงท้ายปีของ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาได้รับการเลื่อนยศตำแหน่งเป็นพลเรือโทและผู้บัญชาการกองเรือ ที่พลเรือเอกก่อนหน้านี้ได้ถูกขับออกจากตำแหน่งโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ได้ให้การสนับสนุนการก่อกบฏ ในปี ค.ศ. 1919 ตามมาด้วยส่วนหนึ่งของการปฏิวัติและการเข้าแทรกแซงจากภายนอกในฮังการี ตั้งแต่[[ราชอาณาจักรโรมาเนีย|โรมาเนีย]] [[เชโกสโลวาเกีย]] และ[[ยูโกสลาเวีย]] โฮร์ตีได้เดินทางกลับบูดาเปสต์พร้อมกับกองทัพแห่งชาติและต่อมาก็ได้รับเชิญให้เป็นผู้สำเร็จราชการจากรัฐสภา โฮร์ตีได้นำฝ่ายอนุรักษนิยมแห่งชาติ<ref>John Laughland: ''A History of Political Trials: From Charles I to Saddam Hussein'', Peter Lang Ltd, 2008 [https://books.google.com/books?id=1sRMIZGX9UMC&pg=PA143&dq=%22National+conservative%22+Horthy&hl=en&sa=X&redir_esc=y#v=onepage&q=%22National%20conservative%22%20Horthy&f=false]</ref>ของรัฐบาลมาตลอดในช่วง[[สมัยระหว่างสงคราม]] ได้ประกาศห้าม[[พรรคคอมมิวนิสต์ฮังการี]] รวมถึง[[พรรคแอร์โรว์ครอสส์]] และได้ฝักใฝ่หาในนโยบายต่างประเทศการเรียกร้องดินแดนของชนชาติเดียวกันในการเผชิญหน้ากับ[[สนธิสัญญาไทรอานอน]] [[จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย|สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4]] ไม่ประสบความสำเร็จในความพยายามถึงสองครั้งเพื่อย้อนกลับเข้าสู่ฮังการีจนกระทั้งปี ค.ศ. 1921 รัฐบาลฮังการีได้ตกอยู่ในภัยคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อก่อสงครามครั้งใหม่ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 ได้ถูกพาออกไปจากฮังการีไปยังเรือรบของบริติซในฐานะผู้ลี้ภัยผลัดถิ่น
 
ในปลายปี ค.ศ. 1930 นโยบายต่างประเทศของโฮร์ตีนั้นได้ทำให้เขาต้องกลายเป็นพันธมิตรอย่างไม่เต็มใจกับ[[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]ในการต่อกรกับ[[สหภาพโซเวียต]] ด้วยการสนับสนุนอย่างเดียดฉันท์ของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] โฮร์ตีนั้นสามารถกู้คืนดินแดนบางส่วนที่ถูกเอาไปจากพวกเขาโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ภายใต้การนำของโฮร์ตี, ฮังการีได้ให้การสนับสนุนผู้ลี้ภัยชาวโปแลนด์ในปี ค.ศ. 1939 และได้มีส่วนร่วมในบทบาทการสนับสนุน(เป็นฝ่ายตรงข้ามกับแนวหน้า)ในช่วงที่[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|เยอรมันเข้ารุกรานสหภาพโซเวียต]]ในปี ค.ศ. 1941 และ[[การบุกครองยูโกสลาเวีย|เยอรมันเข้ารุกรานยูโกสลาเวีย]]ในปีเดียวกัน ได้ครอบครองและผนวกรวมเข้ากับดินแดนของชาวฮังการีในอดีตซึ่งได้ถูกมอบให้กับราชณาจักรเซิร์บ โครแอต และสโลวีเนีย([[ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย|ยูโกสลาเวีย]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1929)โดยฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อย่างไรก็ตาม, ด้วยความไม่เต็มใจของโฮร์ตีที่จะมีส่วนร่วมในความพยายามทำสงครามของเยอรมันและ[[ฮอโลคอสต์ในฮังการี]] รวมทั้งได้ปฏิเสธที่จะส่งมอบชาวยิวเชื้อสายฮังการีมากกว่า 600,000 คนจาก 825,000 คนให้แก่เจ้าหน้าที่เยอรมัน ควบคู่ไปกับความพยายามหลายครั้งในการจัดการข้อตกลงอย่างลับๆกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง]] หลังจากได้เห็นชัดเจนว่า ฝ่ายอักษะจะพ่ายแพ้สงคราม จนท้ายที่สุดก็ทำให้เยอรมันต้องส่งกองทัพเข้าไปรุกรานและเข้าควบคุมประเทศในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944 ใน[[ปฏิบัติการมาร์กาเรต]] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1944 โฮร์ตีได้แถลงการณ์ว่าฮังการีนั้นได้ประกาศสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและถอนตัวออกจาก[[ฝ่ายอักษะ]]แล้ว เขาได้ถูกบังคับให้ลาออก, ถูกจับกุมโดยเยอรมันและถูกพาตัวไปยัง[[รัฐบาวาเรีย|บาวาเรีย]] ในช่วงท้ายสงคราม, เขาได้อยู่ภายใต้การดูแลของทหารอเมริกัน<ref>von Papen, Franz, ''Memoirs'', London, 1952, pps:541-23, 546.</ref>
 
หลังจากได้ปรากฏตัวในฐานะพยานใน[[การพิจารณาคดีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง|การพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามที่เนือร์นแบร์ค]]ในปี ค.ศ. 1948 โฮร์ตีได้ตั้งรกรากและใช้ชีวิตในปีที่เหลืออยู่ของเขาในการลี้ภัยที่[[ประเทศโปรตุเกส|โปรตุเกส]] บันทึกของเขา ''Ein Leben für Ungarn'' (ชีวิตสำหรับฮังการี)<ref>{{cite book|title=A life for Hungary : memoirs|author=Miklos Horthy|year=2011|publisher=Ishi Press International|oclc=781086313|isbn=978-4-87187-913-2}}</ref> ได้ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1953 เขาได้ถูกมองว่าเป็นบุคคลที่มีความขัดแย้งทางประวัติศาสตร์ในฮังการีร่วมสมัย<ref name="Horthy-képeink">{{cite web|last1=Romsics|first1=Ignác|title=Horthy-képeink|url=http://mozgovilag.com/?p=2479|website=Mozgó Világ Online|accessdate=14 July 2014|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140719171430/https://mozgovilag.com/?p=2479|archivedate=19 July 2014|df=}}</ref><ref name="bloomberg.com">{{cite news|last1=Simon|first1=Zoltán|title=Hungary Lauds Hitler Ally Horthy as Orban Fails to Stop Hatred|url=https://www.bloomberg.com/news/2012-06-13/hungary-lauds-hitler-ally-horthy-as-orban-fails-to-stop-hatred.html|accessdate=15 July 2014|agency=Bloomberg|date=13 June 2012}}</ref><ref name="spiegel.de">{{cite news|last1=Verseck|first1=Keno|title='Creeping Cult': Hungary Rehabilitates Far-Right Figures|url=http://www.spiegel.de/international/europe/right-wing-extremists-cultivate-horthy-cult-in-hungary-a-836526.html|accessdate=15 July 2014|agency=Spiegel Online International|date=6 June 2012}}</ref><ref name="His contentious legacy">{{cite news|title=His contentious legacy|url=https://www.economist.com/news/europe/21589479-wartime-leader-still-divides-hungarians-his-contentious-legacy|accessdate=14 July 2014|work=The Economist|issue=9 Nov. 2013|date=9 Nov 2013}}</ref>
 
== อ้างอิง ==