ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบขนส่งมวลชนเร็ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8229688 สร้างโดย 49.237.146.90 (พูดคุย) ผมคิดว่าใช้คำว่ารางหนักเหมือนเดิมน่าจะโอเคและเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปมากกว่า
ป้ายระบุ: ทำกลับ
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ฮัมบูร์ก→ฮัมบวร์ค
บรรทัด 44:
=== ลักษณะเส้นทาง ===
{{บทความหลัก|รายชื่อระบบรถไฟในเมือง}}
[[ไฟล์:Hamburg Hochbahn - Bruecke am Stintfang.jpg|thumb|รถไฟฟ้าในเมือง[[ฮัมบูร์กบวร์ค]]]]
 
แบบใต้ดิน จะอยู่ใต้ชั้นถนน ซึ่งจะทำให้การจราจรบนถนนคล่องตัวมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องเสนอพื้นที่ทำเกาะกลางสำหรับตอม่อทางยกระดับ แต่มีข้อเสียคือต้องใช้งบประมาณเยอะ และการขุดอุโมงค์ต้องทำการปิดการจราจรบางส่วน อาจทำให้การจราจรติดขัด สำหรับการสร้างอุโมงค์ จะมีขั้นตอนที่เรียกว่า [[คัต-แอนด์-คัฟเวอร์]] ซึ่งเป็นการฉาบคอนกรีตไปในเนื้ออุโมงค์<ref name=Ovenden7>Ovenden, 2007: 7</ref> แบบระดับดินหรือระดับถนน มักใช้กับแถบชานเมือง ซึ่งใช้งบประมาณน้อยกว่าแบบใต้ดินหรือยกระดับ ส่วน[[รถไฟยกระดับ]] มีงบประมาณที่น้อยกว่าแบบใต้ดิน มักพบในเมืองที่การจราจรไม่ติดกันนัก