ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัก สุตสคาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สมัยสาธารณรัฐเขมร: แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5:
หลังการรัฐประหารใน พ.ศ. 2513 โดยลน นล สุตสคานยังคงเป็นทหารในกองทัพรัฐบาลและได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมหลายครั้ง รวมทั้งได้รับการยอมรับจากผู้สังเกตการณ์จากสหรัฐในฐานะบุคคลผู้มีความสามารถและไม่เกี่ยวข้องกับการฉ้อราษฎร์บังหลวง<ref name=shawcross>Shawcross, p.232</ref>
 
หลังจากที่ชาวสหรัฐและประธานาธิบดี[[เสาเซากัม คอย]]ออกจาก[[พนมเปญ]]เมื่อ 12 เมษายน สมาชิกของคณะกรรมการสูงสุด7 คน นำโดยสุตสคานได้เป็นผู้มีอำนาจปกครองสาธารณรัฐเขมรที่ใกล้ล่มสลาย สุจสคานดำรงตำแหน่งประมุขรัฐและประธานสภาแห่งรัฐซึ่งพยายามเจรจาสงบศึกกับเขมรแดงที่ล้อมพนมเปญอยู่ สุตสคานยังคงอยู่ในพนมเปญจนกระทั่งกองทัพคอมมิวนิสต์เข้าเมืองได้ในวันที่ 17 เมษายนด้วยเฮลิคอปเตอร์เที่ยวสุดท้าย.<ref>Sutsakhan, Lt. Gen. S. ''The Khmer Republic at War and the Final Collapse'' Washington DC: U.S. Army Center of Military History, 1987, p. 168. See also [http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001A.pdf Part 1][http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001B.pdf Part 2][http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001C.pdf Part 3]</ref>สุตสคานแต่งงานและมีบุตร 4 คน
 
== การลี้ภัยและแนวร่วมปลดปล่อยฯ ==
สุตสคานลี้ภัยมายังสหรัฐอเมริกาและได้สัญชาติสหรัฐ หลังจากที่เขมรแดงถูกกองทัพที่เวียดนามหนุนหลังโค่นล้มไปเมื่อ พ.ศ. 2522 [[ซอน ซาน]]และ[[เดียน เดล]]ได้จัดตั้ง[[แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมร]]ซึ่งเป็นขบวนการต่อต้านคอมมิวนิสต์และนิยมสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดเพื่อต่อต้าน[[สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา]] มีฐานที่มั่นตามแนวชายแดนไทย สุตสคานเดินทางมาร่วมด้วยใน พ.ศ. 2524 และได้เป็นผู้บัญชาการกองกำลังติดอาวุธของแนวร่วม