ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราหู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วาสุเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| ชื่อในภาษาแม่ = राहु
| จำพวก = เทวนพเคราะห์ และ อสูร
| เทวพาหนะ = สิงโตราชสีห์สีน้ำเงิน/,พญาครุฑ,เสือ,ราชรถเทียมเสือ,ราชรถสีดำเทียมม้าสีดำ 8 ตัว
| ดาวพระเคราะห์ = ดาวมฤตยูราหู (ดาวยูเรนัส) [[ภาพ:Rahu symbol.png|15px|]]
| อาวุธ = กระบอง,ค้อน,ดาบ,โล่,หอก,ตรีศูล,คทา ฯลฯ
|บิดา=ท้าววิประจิตติ|มารดา=นางสิงหิกา|consort=พระนางสิงหิ|child=พระนางอมาวสี,นิลปานัน ([[วานรสิบแปดมงกุฎ]]ในรามเกียรติ์)
}}
 
เส้น 13 ⟶ 15:
 
== กำเนิด ==
การกำเนิดของพระราหูมีสอง 4 ตำนานคือ
# ใน[[ฤคเวท]] พระราหู เป็นทานพนามว่า สวรรณภานุ เกิดรู้สึกอิจฉา[[พระอาทิตย์]] จึงจับพระอาทิตย์กลืนไว้ [[พระอินทร์]]จึงใช้จักรตัดหัวสวรรณภานุและปลดปล่อยพระอาทิตย์ออกมา
# [[พระศิวะ]]สร้างพระราหูขึ้นมาจากหัวกะโหลก ๑๒ หัว (บางตำราก็ว่า สร้างขึ้นจาก หัวผีโขมด ๑๒ หัว) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีทอง]] (บางตำราก็ว่า ห่อผ้าสีทองสัมฤทธิ์) แล้วประพรมด้วยน้ำอมฤต เสกได้เป็นพระราหู มีสีวรกายสีนิลออกไปทางทองแดงมีวิมานสีนิลอยู่ในอากาศ ประจำอยู่[[ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ]] (ทิศพายัพ) และแสดงถึง[[เศษวรรค]]ที่ ๑ (ย ร ล ว)
# ในพุทธศาสนา พระราหู มีนามว่า พระอสุรินทราหู เป็นอุปราชคู่กับท้าวพรหมทัตตาสูร อยู่เมืองอสูรทางทิศเหนือ และยังเป็นพระโพธิสัตว์ที่จะได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตอีกด้วย
# พระราหูเป็นโอรสของท้าววิประจิตติและนางสิงหิกาหรือนางสิงหะรา เมื่อเกิดมามีกายเป็นยักษ์และมีหางเป็นนาค
# ในคติไทย [[พระศิวะ]]สร้างพระราหูขึ้นมาจากการที่ทรงนำหัวกะโหลก ๑๒ หัว (บางตำราก็ว่า สร้างขึ้นจาก หัวผีโขมด ๑๒ หัว) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีทอง]] (บางตำราก็ว่า ห่อผ้าสีทองสัมฤทธิ์) แล้วประพรมด้วยน้ำอมฤต เสกได้เป็นพระราหู มีสีวรกายสีนิลออกไปทางทองแดงทองสัมฤทธิ์ มีวิมานสีนิลอยู่ในอากาศ ประจำอยู่[[ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ]] (ทิศพายัพ) และแสดงถึง[[เศษวรรค]]ที่ ๑ (ย ร ล ว)
# ในคติฮินดู พระราหูเป็นโอรสของท้าววิประจิตติ ราชาแห่งเหล่าทานพ และนางสิงหิกาหรือนางสิงหะราหิกา น้องสาวของราชาแทตย์หิรัณยกศิปุ เมื่อเกิดมามีกายเป็นยักษ์อสูรและมีหางเป็นนาค
 
พระราหูเป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางลุ่มหลงมัวเมา ฝักใฝ่ในทางด้านมืด พระราหูเป็นมิตรกับ[[พระเสาร์]]และเป็นศัตรูกับ[[พระพุธ]]อันมีเหตุตามนิทานชาติเวร
 
ตามนิทานพื้นบ้าน ในอดีตชาติ พระราหูได้เกิดมาเป็นน้องร่วมท้องเดียวกันกับเทวดานพเคราะห์อีกสององค์ คือ [[พระอาทิตย์]]และ[[พระจันทร์]] โดยพระราหูเกิดเป็นน้องสุดท้อง ครั้งหนึ่ง พระราหูได้ร่วมทำบุญถวายพระที่มารับบิณฑบาตร่วมกับพี่ทั้งสองคน พระอาทิตย์ตักบาตรในครั้งนั้นด้วยภาชนะทอง พระจันทร์ตักบาตรด้วยภาชนะเงิน ส่วนพระราหูตักบาตรด้วยภาชนะที่ทำมาจากกะลามะพร้าว
เมื่อทั้ง3พี่น้องได้มาเกิดเป็นเทวดานพเคราะห์ พระอาทิตย์จึงมีรัศมีและวรรณะเปล่งปลั่งดุจทองคำ พระจันทร์มีรัศมีและวรรณะเป็นสีขาวสว่างดุจเงิน และพระราหูมีรัศมีและวรรณะเป็นสีนิลออกไปทางทองแดงทองสัมฤทธิ์ (แต่ในบางตำราก็ว่ากายของพระราหูนั้นมีสีดำบ้าง สีเขียวบ้าง สีทองบ้าง แตกต่างกันไป)
 
== สาเหตุที่พระราหูมีกายเพียงครึ่งท่อน ==
มีเรื่องเล่าว่า เมื่อครั้งที่เหล่าเทวดาได้ทำพิธีกวน[[กวนเกษียรสมุทร]]เพื่อให้ได้น้ำอมฤตนั้นมีทั้งเทวดาและอสูรทั้งหลายเข้าร่วมทำพิธี พระราหูได้แอบอยู่ในกลีบเมฆ เมื่อทำพิธีสำเร็จ เหล่าเทพและอสูรได้ยื้อแย่งน้ำอมฤตกัน พระวิษณุทรงแปลงกายเป็นนางโมหิณี เพื่อแบ่งน้ำอมฤต พระราหูจึงรีบแปลงกายเป็นเทวดา แล้วลอบดื่มน้ำอมฤตที่เกิดขึ้นนั้น พระอาทิตย์และพระจันทร์ได้เห็นเข้าจึงรีบเอาความนั้นไปทูลบอก[[พระวิษณุ]] พระวิษณุทรงทราบจึงขว้างจักรสุทรรศนะตัดไปถูกกลางตัวพระราหูขาดกลายเป็นสองท่อน แต่ด้วยว่าน้ำอมฤตที่พระราหูได้ดื่มนั้นไหลไปจนถึงกลางตัวพระราหูแล้วพอดี ครึ่งบนของพระราหูที่ถูกตัดออกจึงกลายเป็นอมตะ ส่วนครึ่งล่างนั้นได้กลายมาเป็นพระเคราะห์องค์ที่ ๙ แห่งเหล่าเทวดานพเคราะห์ ก็คือ [[พระเกตุ]] แต่ถ้าในทางคติฮินดู จักรนั้นตัดที่คอของราหู ส่วนหัวคือพระราหู ส่วนตัวคือพระเกตุ บ้างก็ว่า[[พระศุกร์]]ได้นำนาคมาผ่าเป็น 2 ส่วน เพื่อมาต่อให้ราหูและเกตุ พระราหูมีหัวเป็นอสูรตัวเป็นเทพนาค พระเกตุมีหัวเป็นเทพนาคตัวเป็นอสูร
 
== ลักษณะกายของพระราหู ==
ลักษณะของพระราหู ในคติไทย เป็นเทพอสูรมีกายสีนิลออกไปทางทองสัมฤทธิ์ มีกายครึ่งท่อน บ้างก็เต็มองค์ บ้างก็เป็นครึ่งอสูรครึ่งนาค ปากขบ ตาโพลง มี ๒ กร ทรงกระบองเป็นอาวุธ สวมมงกุฎน้ำเต้า สวมอาภรณ์สีทองและสีม่วง ทรงเครื่องประดับด้วยทองคำ ทองสัมฤทธิ์ และแก้วนิลรัตน์ ทรงครุฑเป็นพาหนะ ในคติฮินดู เป็นเทพอสูรมีกายสีนีล มี ๔ กร ทรงคทา ตรีศูล คทา ดาบ โล่ ฯลฯ สวมมงกุฎทองคำ สวมอาภรณ์สีน้ำเงิน ทรงเครื่องประดับด้วยทองคำ ทองสัมฤทธิ์และแก้วนิลรัตน์ ทรงเสือหรือราชสีห์เป็นพาหนะ บ้างก็วาดพระราหูให้มีแต่หัว สถิตบนดอกบัวบนราชรถเทียมด้วยเสือ บ้างก็วาดพระราหูมีหัวแล้วมีหางนาค พระอังคาร
 
จากนั้นเมื่อครั้งใดที่พระราหูได้พบเจอพระอาทิตย์หรือพระจันทร์ พระราหูก็จะจับมากลืนกินด้วยความโกรธแค้นที่เทวดาทั้งสององค์นำเรื่องไปทูลพระนารายณ์ แต่อมไว้ในปากได้ไม่นานก็ต้องคายออกมาเพราะทนความร้อนและรัศมีของเทวดานพเคราะห์ทั้งสองไม่ได้ เกิดเป็นเหตุของปรากฏการณ์[[สุริยุปราคา]]และ[[จันทรุปราคา]]ตามคติความเชื่อของคนโบราณ
เส้น 30 ⟶ 37:
 
== ในพุทธศาสนา==
คัมภีร์[[อนาคตวงศ์]] ระบุว่า[[พระโคตมพุทธเจ้า]]ตรัสกับ[[พระสารีบุตร]]ว่า พระอสุรินทราหูจะได้[[ตรัสรู้]]เป็น[[พระพุทธเจ้า]]ทรงพระนามว่า "[[พระนารทสัมพุทธเจ้า]]" นับเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตพระองค์ที่ 5 (นับ[[พระศรีอริยเมตไตรย]]เป็นพระองค์ที่ 1)<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/432425|title= หมอดูเตือน 'ราหู' ย้ายใหญ่ ! ย้ำ 4 ราศี ไหว้รับมือความแรง!|date=29 June 2014|accessdate=29 June 2014|publisher=ไทยรัฐ}}</ref>
 
== อ้างอิง ==