ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระศุกร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
วาสุเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล เทวดา
| ไฟล์ภาพ = Shukra graha.JPG
| คำอธิบายภาพ = พระศุกร์ ตามคตินิยมอย่างอินเดีย
| พระนาม = พระศุกร์
| ภาษาแม่ = เทวนาครี
| ชื่อในภาษาแม่ = शुक्र
| จำพวก = เทวนพเคราะห์เทวดานพเคราะห์ และ[[คุรู]]อสูรคุรุ
| เทวพาหนะ = จระเข้ม้า, วัว หรือ รถม้าลากโดย,จระเข้,นกอินทรี,ราชรถสีขาวเทียมม้าสีขาว 710 ตัว
| ดาวพระเคราะห์ = [[ดาวศุกร์]] [[ภาพ:Shukra symbol.png|15px|]]
| อาวุธ = ไม้เท้า,ลูกประคำ,หม้อน้ำ,คัมภีร์,ดอกบัว,คทา,ดาบ,แส้,สังข์,ธนู,ศร ฯลฯ
|บิดา=ฤๅษีภฤคุ|มารดา=นางอุศนัส|consort=พระนางชยันตี,พระนางอุรชัสวดี|child=นางเทวยานี,ฤๅษีตวัษฏาร์,นิลปาสัน ([[วานรสิบแปดมงกุฎ]]ในรามเกียรติ์) ฯลฯ
}}
 
'''พระศุกร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: शुक्र ''ศุกฺร'') เป็น[[เทวดานพเคราะห์]]องค์หนึ่ง ในคติไทย พระศุกร์ถูกสร้างขึ้นมาจาก[[พระศิวะ]]ทรงนำคาวี ([[วัว]]) ๒๑ ตัว (บางตำรากล่าวว่าสร้างจากเพทยาธรวิทยาธร-ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์ ผู้มีวิชาอาคมและพลังญาณ) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีฟ้า]]อ่อน ประพรมด้วยน้ำอมฤต แล้วเสกได้เป็นพระศุกร์ มีพระวรกายสีวรกายฟ้าฟ้า ทรงเครื่องผนวชฤๅษี นุ่งห่มหนังเสือ สวมลูกประคำ ทรงเครื่องประดับเป็นเพชร แก้วไพลินและแก้วเพทาย ทรงคาวีโคอุสุภราชเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศเหนือ และแสดงถึงเศษวรรคที่ ๒ (ส ห ฬ อ) พระศุกร์จัดเป็นครูของพวกยักษ์อสูร ซึ่งตรงข้ามกับพระพฤหัสบดีที่เป็นครูของเทพ ในไตรภูมิพระร่วง พระศุกร์มีวิมานลอยอยู่รอบเขาพระสุเมรุด้านทิศเหนือ วิมานใหญ่ ๑๓ โยชน์ รัศมีดังควันไฟ
พระศุกร์ เป็นบุตรของ[[พระฤๅษีภฤคุ]] กับ [[นางชยาติ]] และเป็นสาวกเอกของ[[พระศิวะ]] วิมานอยู่ทาง[[ศิวโลก]] ด้านทิศเหนือ
 
ในคติฮินดู พระศุกร์ เป็นบุตรของฤๅษีภฤคุ กับนางอุศนัส หรือ นางกาพยมาตา และเป็นสาวกเอกของ[[พระศิวะ]] วิมานอยู่ทางศุกรโลก ด้านทิศเหนือ พระศุกร์ มีนามเดิมว่า พระภารควะ เป็นเทพฤๅษีผู้มีรูปงาม และได้หลงรักกับนางอัปสรวิศวาจี และถอดจิตตามนางไป ต่อมานางก็ทิ้งพระภารควะ พระภารควะจึงไปจุติเป็นเมล็ดข้าว และชาวนาได้นำข้าวไปถวายฤๅษี ภรรยาฤๅษีได้กินเข้าไป และได้ตั้งครรภ์และคลอดบุตร ชื่อ ฤๅษีอุศนัส ส่วนนางอัปสรวิศวาจี ถูก[[ฤๅษีนารทมุนี]]สาปให้กลายเป็นกวาง และได้มาพบกับฤๅษีอุศนัส และได้สมสู่กันจนมีบุตร ในขณะนี้ดวงจิตของพระภารควะยึดติดในกาม และต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร ฝ่ายฤๅษีภฤคุที่เข้าฌานไปเป็นเวลานาน เมื่อตื่นขึ้นมาก็พบร่างของบุตรตนไม่มีชีวิต ท่านจึงไปพบ[[พระยม]]ในยมโลก เพื่อถามหาวิญญาณของบุตรตน แต่พระยมกล่าวว่าตอนนี้พระภารควะได้ไปเกิดเป็นพราหมณ์และกำลังจะใช้กรรมหมดแล้ว ฤๅษีภฤคุจึงขอให้พระยมนำดวงจิตของพระศุกร์คืนมา เมื่อพระภารควะกลับเข้าร่างเดิมแล้วก็เริ่มเบื่อหน่ายในชีวิต และเริ่มบำเพ็ญตบะต่อ[[พระศิวะ]] และเนื่องจากพระภารควะได้บำเพ็ญตบะมาหลายชาติ จนกระทั่งพระศิวะทรงพอพระทัย และมอบพรให้พระภารควะ ทรงมอบนามใหม่ให้ว่า พระศุกร์ และทรงแต่งตั้งให้เป็นเทพประจำดาวศุกร์ และให้เป็นอาจารย์ของเหล่าอสูร แทตย์ ทานพ รากษส ให้เป็นผู้ไม่มีวันแก่ชรา ให้เป็นผู้มั่งคั่งในโภคทรัพย์สมบัติ โชคลาภ ให้เป็นผู้มีสติปัญญาญาณ มีความสามารถในวิชาการต่อสู้ การปกครอง การแต่งโศลก กาพย์ ฉันท์ กวี มีมนตร์มายา มีอำนาจด้านความรัก ความปรารถนาในโลก และยังได้รับมนตร์มฤตสัญชีวินี ซึ่งสามารถชุบชีวิตได้
พระศุกร์เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางอ่อนหวาน แต่ค่อนข้างไปทางใฝ่ต่ำ นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันศุกร์หรือมีพระศุกร์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีกิริยาน่ารัก อ่อนหวาน ชอบงานศิลปะทุกประเภท ตามนิทานชาติเวร พระศุกร์เป็นมิตรกับ[[พระอังคาร]]และเป็นศัตรูกับ[[พระเสาร์]]
 
ลักษณะของพระศุกร์ ในคติไทย เป็นเทพบุรุษมีกายสีฟ้า หรือ สีเลื่อมประภัสสร มี ๒ กร ทรงไม้เท้าและดอกบัว บ้างก็ทรงศรเป็นอาวุธ สวมชฎายอดฤๅษี ทรงเครื่องผนวชฤๅษี นุ่งห่มหนังเสือ สวมลูกประคำ ทรงเครื่องประดับเป็นเพชร แก้วไพลินและแก้วเพทาย ทรงโคอุสุภราชเป็นพาหนะ ในคติฮินดู เป็นเทวฤๅษีมีกายสีฟ้า บ้างก็ว่าสีขาว ตาบอดข้างหนึ่ง มี ๔ กร ทรงไม้เท้า,ลูกประคำ,หม้อน้ำ,ดอกบัว,ดาบ ฯลฯ มุ่นมวยผมอย่างฤๅษี สวมลูกประคำ สวมอาภรณ์สีขาว ทรงเครื่องประดับด้วยเพชร แก้วไพลินและแก้วเพทาย ทรงม้าเป็นพาหนะ พระศุกร์ ยังมีนามอื่นๆอีก อาทิ เช่น พระภารควะ,พระอุศนัส,พระอสุราจารย์,พระอสูรคุรุ,พระแทตยคุรุ,พระแทตยาจารย์,พระแทตยปุโรหิต,พระแทตยมนตรี,พระแทตยปูชยะ,พระกาพย์,พระเศวตามพร,พระศุภลักษณ์,พระกามบาล,พระมนัสวิน,พระมหายศ ฯลฯ
 
พระศุกร์เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางอ่อนหวาน แต่มีเสน่ห์ มีโชคลาภ มักมากในกาม ค่อนข้างไปทางใฝ่ต่ำ นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันศุกร์หรือมีพระศุกร์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีกิริยาน่ารัก อ่อนหวาน ชอบงานศิลปะทุกประเภท ตามนิทานชาติเวร พระศุกร์เป็นมิตรกับ[[พระอังคาร]]และเป็นศัตรูกับ[[พระเสาร์]]
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๖ (เลขหกไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคาวี ๒๑ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๒๑ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือ[[ปางรำพึง]]
 
นอกจากนี้ พระศุกร์ยังเป็นศัตรูกับ[[พระวิษณุ]] เพราะพระวิษณุทรงสังหารนางอุศนัส ผู้เป็นมารดาของพระศุกร์ เพราะนางให้ที่หลบภัยแก่อสูร และพระศุกร์เคยขัดขวางการให้ทานของท้าวมหาพลี โดยการเข้าไปอุดรูในคนโทน้ำเต้า ไม่ให้น้ำทักษิโณทกไหลออกมา พระวามนาวตาร อวตารปางที่ 5 ของพระวิษณุ ทรงใช้หญ้าคาทิ่มตาพระศุกร์บอดไปข้างหนึ่ง
ใน[[มหาภารตะ]] พระศุกร์เป็นศัตรูกับ[[ท้าวยยาติ]] ลูกเขยของพระศุกร์ คือท้าวยยาตินั้น เห็นพระศุกร์ เป็นเพียงแค่ฤๅษีตนหนึ่ง จึงได้พูดจาสบประมาท ดูถูกพระศุกร์ และแล้ว [[ฤๅษีนารทมุนี]] ได้นำความไปฟ้องพระศุกร์ พระศุกร์โกรธมากจึงสาปท้าวยยาติให้กลายเป็นคนหลังค่อม และลูกหลานต้องฆ่ากันตายและต้องมีตระกูลหนึ่งต้องสูญพันธุ์ไม่มีผู้สืบสกุล จนทำให้เกิด [[มหาสงครามทุ่งกุรุเกษตร]] ๑๘ วัน ก็คือ[[ปาณฑพ]] และ [[เการพ]] และตระกูลที่สูญพันธุ์ไร้ผู้สืบสกุลก็คือสกุลเการพ ในเวลาต่อมา
 
ใน[[มหาภารตะ]] พระศุกร์เป็นศัตรูกับ[[ท้าวยยาติ]] ลูกเขยของพระศุกร์ คือท้าวยยาตินั้น เห็นพระศุกร์ เป็นเพียงแค่ฤๅษีตนหนึ่ง จึงได้พูดจาสบประมาท ดูถูกพระศุกร์ และแล้ว [[ฤๅษีนารทมุนี]] ได้นำความไปฟ้องพระศุกร์ พระศุกร์โกรธมากจึงสาปท้าวยยาติให้กลายเป็นคนแก่หลังค่อม และลูกหลานต้องฆ่ากันตายและต้องมีตระกูลหนึ่งต้องสูญพันธุ์ไม่มีผู้สืบสกุล จนเป็นอีกสาเหตุหนึ่งทำให้เกิด [[มหาสงครามทุ่งกุรุเกษตร]] ๑๘ วัน ก็คือ[[ปาณฑพ]] และ [[เการพ]] และตระกูลที่สูญพันธุ์ไร้ผู้สืบสกุลก็คือสกุลเการพ ในเวลาต่อมา
 
เมื่อเทียบกับความเชื่อทางตะวันตกแล้ว พระศุกร์เทียบได้กับ[[แอโฟรไดที|อะโฟร์ไดตี]]ของเทพปกรณัมกรีก และ[[วีนัส (เทพปกรณัม)|วีนัส]]ของเทพปกรณัมโรมัน