ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาคารรักษาพยาบาล และสถานีรถไฟร่วมศิริราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 28:
จุดที่ตั้งสถานีแห่งนี้มีความสำคัญมากในด้านประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ[[กรุงธนบุรี]]ในอดีต และในพื้นที่ใกล้เคียงยังมี[[สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)|สถานีรถไฟธนบุรี]] ซึ่งเคยเป็นต้นทางของ[[ทางรถไฟสายใต้]] และ[[ทางรถไฟสายมรณะ]] [[ไทย]]-[[พม่า]] ที่[[กองทัพญี่ปุ่น]]สร้างขึ้นในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
== ประวัติ ==
== ความเป็นมา ==
ใน พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2554 ระหว่างที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ทรงพักรักษาอาการประชวรที่โรงพยาบาลศิริราช พระองค์ได้ทรงเห็นถึงปัญหาในการจราจรโดยรอบพื้นที่โรงพยาบาลศิริราช พระองค์จึงทรงรับสั่งให้ ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ อธิการบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็นผู้นำถวายการรักษาและคณะแพทย์ที่ร่วมถวายการรักษาในขณะนั้น รวบรวมปัญหาการจราจรที่เกิดขึ้น และสั่งจัดทำแผนบรรเทาและแก้ไขปัญหาการจราจรฝั่งธนบุรี ตั้งแต่ในพื้นที่โรงพยาบาลฯ นอกพื้นที่โรงพยาบาลฯ ตลอดจนพื้นที่โดยรอบ จนในที่สุดคณะแพทย์ร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย ผู้ว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ตลอดจนเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้จัดทำแผนโครงการแก้ไขปัญหาการจราจรโดยรอบโรงพยาบาลศิริราชในพระราชดำริจำนวน 8 โครงการ คือการก่อสร้างสะพานลอยฟ้า ถนนลอยฟ้า ถนนโลคัลโรดโดยรอบโรงพยาบาลศิริราช การขยายถนนอรุณอัมรินทร์ การเปลี่ยนเส้นทางของ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม]]จากเส้นทางเดิมให้มาลอดผ่านโรงพยาบาลศิริราช และการร่างเส้นทางแยกช่วงตลิ่งชัน - ธนบุรี-ศิริราช ของโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] เป็นต้น<ref>[https://www.matichon.co.th/local/news_328581 พระเมตตา ‘ในหลวง’ รัชกาลที่ 9 ศิริราชมิรู้ลืม]</ref>
 
บรรทัด 100:
* [[เรือด่วนเจ้าพระยา]] เชื่อมต่อที่ [[ท่าวังหลังและท่าพรานนก|ท่าวังหลัง (ศิริราช)]]
 
==แหล่ง อ้างอิง ==
{{reflist}}