ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เกดะห์→เกอดะฮ์
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ตรังกานู→เตอเริงกานู
บรรทัด 90:
พ.ศ. 2436 เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสในอินโดจีนใช้ข้อพิพาทพรมแดนเล็กน้อยเพื่อปลุกปั่นวิกฤตการณ์ เรือปืนฝรั่งเศสปรากฏขึ้นที่กรุงเทพมหานคร และเรียกร้องให้โอนดินแดนลาวที่อยู่ฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำโขง]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขออังกฤษ แต่นายกรัฐมนตรีอังกฤษกราบทูลพระองค์ให้ระงับด้วยเงื่อนไขใดก็ตามที่พระองค์จะทรงได้รับ และพระองค์ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องยอมทำตาม ท่าทีเดียวของอังกฤษคือ ความตกลงกับฝรั่งเศสรับประกันบูรณภาพของสยามส่วนที่เหลือ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน สยามยอมยกการอ้างสิทธิ์เหนือ[[รัฐฉาน]]ทางตะวันออกเฉียงเหนือของพม่าแก่อังกฤษ
 
อย่างไรก็ดี ฝรั่งเศสยังคงกดดันสยาม และใน พ.ศ. 2449-2450 ก็ได้ก่อวิกฤตการณ์ขึ้นอีกหน หนนี้สยามจำต้องโอนดินแดนทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขงตรงข้าม[[หลวงพระบาง]]และรอบ[[จำปาศักดิ์]]ทางตอนใต้ของลาว ตลอดจนกัมพูชาตะวันตก ให้อยู่ในการควบคุมของฝรั่งศส อังกฤษเข้าไกล่เกลี่ยเพื่อกันมิให้ฝรั่งเศสระรานสยามอีก แต่ใน พ.ศ. 2452 สยามจำต้องจ่ายราคาเป็นการยอมรับอธิปไตยของอังกฤษเหนือ[[รัฐเกอดะฮ์|ไทรบุรี]] [[รัฐกลันตัน|กลันตัน]] [[รัฐปะลิส|ปะลิส]]และ[[รัฐตรังกานูเตอเริงกานู|ตรังกานูเตอเริงกานู]]ภายใต้[[สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452]] "ดินแดนที่เสียไป" ทั้งหมดเหล่านี้อยู่ที่ขอบเขตอิทธิพลของสยามและไม่เคยกลับมาอยู่ภายใต้การควบคุมของสยามอย่างรัดกุมอีกเลย แต่ถูกบังคับให้สละการอ้างสิทธิ์ทั้งหมดเหนือดินแดนเหล่านี้เป็นการทำให้พระมหากษัตริย์และประเทศอัปยศ และเป็นรากฐานของการเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิกฤตการณ์เหล่านี้ถูกรัฐบาลที่เป็นชาตินิยมเพิ่มขึ้นใช้เป็นสัญลักษณ์แห่งการถือสิทธิ์ของตนต่อตะวันตกและประเทศเพื่อนบ้าน
 
ขณะเดียวกัน การปฏิรูปดำเนินไปอย่างรวดเร็ว โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชซึ่งอิงความสัมพันธ์ของอำนาจเป็นรัฐชาติรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางสมัยใหม่ ขบวนการดังกล่าวเพิ่มพูนขึ้นภายใต้รัชสมัยพระราชโอรสของพระองค์ ซึ่งล้วนแต่ได้รับการศึกษาในยุโรปทั้งสิ้น ทางรถไฟและสายโทรเลขเชื่อมจังหวัดที่แต่ก่อนเคยห่างไกลและกึ่งปกครองตนเอง สกุลเงินถูกผูกติดกับ[[มาตรฐานทองคำ]]และระบบการจัดเก็บภาษีสมัยใหม่แทนที่การรีดภาษีตามอำเภอใจและราชการแรงงานอย่างในอดีต ปัญหาใหญ่ที่สุดคือ การขาดแคลนข้าราชการที่ผ่านการฝึกฝน และจำต้องจ้างชาวต่างชาติหลายคนกระทั่งสามารถสร้างโรงเรียนใหม่และมีการผลิตบัณฑิตออกมา จนถึง พ.ศ. 2453 หลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตแล้ว อย่างน้อยสยามได้กลายมาเป็นประเทศกึ่งสมัยใหม่ และยังหนีการปกครองแบบอาณานิคมต่อไป
บรรทัด 154:
| [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2450]] || bgcolor="#ff0000"| || [[พระตะบอง]] [[เสียมราฐ]] [[ศรีโสภณ]] || 51,000 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] ([[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]]) || หนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม รัตนโกสินทรศก 125<ref name="Treaty2450">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2450/014/344_1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๔ หน้า ๓๔๔ วันที่ ๗ กรกฎาคม ๑๒๖]</ref>
|-
| [[10 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2452]] || bgcolor="#ff0000"| || [[ไทรบุรี]] [[ปะลิส]] [[กลันตัน]] [[ตรังกานูเตอเริงกานู]] || 38,455 || [[ไฟล์:Flag of the Federated Malay States (1895 - 1946).svg|22px|border]] [[สหภาพมาลายา]] ([[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|อังกฤษ]]) || สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ<ref name="Treaty2452"/>
|-
| [[9 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2484]] || bgcolor="#008000"| || [[จำปาศักดิ์]] [[ไชยบุรี]] [[พระตะบอง]] [[เสียมราฐ]] || 51,326 || [[ไฟล์:Flag of French Indochina.svg|22px]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] || อนุสัญญาสันติภาพระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส<ref name="Treaty24841"/>
บรรทัด 170:
=== พ.ศ. 2452 ===
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2452 (พ.ศ. 2451 เดิม) รัฐบาลสยามและรัฐบาลอังกฤษได้ร่วมกันลงนามใน'''สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ'''<ref name="Treaty2452">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/701.PDF ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กรกฎาคม ๑๒๘ เล่ม ๒๖ น่า ๗๐๑ สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ]</ref> และ'''สัญญาว่าด้วยเขตรแดน ติดท้ายหนังสือสัญญาลงวันที่ 10 มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก 127 คฤสตศักราช 1909'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/705.PDF ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กรกฎาคม ๑๒๘ เล่ม ๒๖ น่า ๗๐๕ สัญญาว่าด้วยเขตรแดน ติดท้ายหนังสือสัญญาลงวันที่ ๑๐ มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๗ คฤสตศักราช ๑๙๐๙]</ref> ซึ่งลงนามโดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]]และนายราลฟ์ แปชยิด โดยมีเนื้อหาสาระดังต่อไปนี้
* รัฐบาลสยามยอมโอนเมืองกลันตัน เมืองตรังกานูเตอเริงกานู เมืองไทรบุรี เมืองปลิศ และเกาะที่ใกล้เคียงเมืองเหล่านั้นให้แก่รัฐบาลอังกฤษเพื่อยกเลิก[[สนธิสัญญาเบาว์ริง|สิทธิสภาพนอกอาณาเขต(สนธิสัญญาเบาว์ริง)]]
 
=== พ.ศ. 2484 ===