ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบราน์ชไวค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ฮันโนเวอร์→ฮันโนเฟอร์
บรรทัด 34:
}}
 
'''เบราน์ชไวค์''' ({{lang-de|Braunschweig}}; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]], [[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]: Brunswick) เป็นเมืองหนึ่งใน[[รัฐนีเดอร์ซัคเซิน]] [[ประเทศเยอรมนี]] มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 247,000 คน ถือเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของรัฐนีเดอร์ซัคเซินรองจาก[[ฮันโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]] เมื่อรวมเขตปริมณฑลของเมืองเข้าด้วยจะมีประชากรราว 1 ล้านคน เบราน์ชไวค์เป็นเมืองศูนย์กลางด้าน[[การวิจัย]]และพัฒนาด้าน[[วิทยาศาสตร์]]ที่สำคัญของประเทศและ[[สหภาพยุโรป]]<ref name="Eurostat">[http://ec.europa.eu/eurostat/statistics-explained/index.php/Research_and_innovation_statistics_at_regional_level ''Research and innovation statistics at regional level''], Ec.europa.eu, 2014.</ref>
 
เบราน์ชไวค์เป็นส่วนหนึ่งของ ''เขตปริมณฑลฮันโนเวอร์ฮันโนเฟอร์-เบราน์ชไวค์-เกิททิงเงน-ว็อลฟส์บูร์ก'' ซึ่งมีประชากรทั้งหมดราว 3.9 ล้านคน เมืองใหญ่แห่งอื่นที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงได้แก่ [[ว็อลฟส์บูร์ก]] (ประชากร 123,000) ห่างออกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือราว 30 กิโลเมตร [[ฮันโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]] (ประชากร 518,000) ทางตะวันตกเฉียงเหนือราว 70 กิโลเมตร และ[[มักเดบูร์ก]] (ประชากร 230,000) ห่างออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร
 
==ประวัติศาสตร์==
บรรทัด 131:
[[ไฟล์:Braunschweig Hauptbahnhof Gesamt 2.JPG|thumb|สถานีรถไฟกลางเบราน์ชไวค์]]
[[ไฟล์:100 6771 0756 Rathaus.jpg|thumbnail|ระบบขนส่งมวลชนภายในเมือง (รถรางสาย M1)]]
การคมนาคมเข้าสู่เมืองเบราน์ชไวค์ประกอบด้วย ทางรถยนต์ ซึ่งมีทางพิเศษหลักของประเทศสองสายวิ่งผ่าน ได้แก่ [[ออโตบาห์น]]หมายเลข 2 (เชื่อม[[เบอร์ลิน]]–[[ฮันโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]]–[[ดอร์ทมุนด์]]) และหมายเลข 38 ([[ซัลส์กิทเทอร์]]–[[ว็อลฟส์บูร์ก]]) [[ทางรถไฟ]]ของเมืองสายหลักเชื่อมระหว่าง[[แฟรงก์เฟิร์ต]]กับเบอร์ลิน และมี[[รถไฟความเร็วสูง]][[อินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรส]] (ICE) ให้บริการ สถานีรถไฟประจำเมืองคือ [[สถานีรถไฟกลางเบราน์ชไวค์]] (Braunschweig Hauptbahnhof) ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองชั้นในไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ราว 3 กิโลเมตร สนามบินเบราน์ชไวค์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือออกไปนอกเมือง สร้างตั้งแต่ทศวรรษที่ 1930
 
การคมนาคมภายในเมือง นอกจากทางรถยนต์แล้วยังมีโครงข่ายทาง[[จักรยาน]]กระจายอยู่ทั่วเมือง [[การขนส่ง|ระบบขนส่งมวลชน]]ประกอบด้วย[[รถราง]]และ[[รถโดยสารประจำทาง]] ดำเนินการโดยบริษัท Braunschweiger Verkehrs-GmbH ส่วนระบบขนส่งมวลชนในเขตปริมณฑลและพื้นที่ใกล้เคียงดำเนินการโดยบริษัท Verbundtarif Region Braunschweig (VRB) ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของ Braunschweiger Verkehrs-GmbH ด้วยเช่นกัน ปัจจุบันรถรางของเมืองมี 5 สาย ความยาวทั้งสิ้น 51 กิโลเมตร หล่อเลี้ยงด้วยระบบไฟฟ้า เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1897 ซึ่งต่อมามีการปรับปรุงยกระดับความทันสมัยและก่อสร้างเส้นทางเพิ่มเติม เช่น การก่อสร้างเส้นทางเพิ่มเติมในปี 2007 ความยาว 3.2 กิโลเมตร<ref>[http://www.lightrailnow.org/news/n_newslog2007q1.htm Braunschweig (Germany): New light rail tram line to suburbs reverses Transit Holocaust], Light Rail Now, 2007-13-02.</ref> ส่วนรถโดยสารประจำทางมีให้บริการทั้งสิ้น 38 สาย ความยาวรวมทั้งสิ้น 489 กิโลเมตร เส้นทางรถรางที่ให้บริการในปัจจุบันทั้ง 5 สายได้แก่<ref>[http://www.braunschweiger-verkehrs-ag.de/fileadmin/user_upload/downloads/Liniennetzplan/A4_linienverzeichnis_2012_v.pdf Tram and bus lines in Braunschweig], Braunschweiger-verkehrs-ag.de</ref>
บรรทัด 172:
* ลาน "ฮาเกินมาร์กท์" (Hagenmarkt) บริเวณใกล้เคียงมีโบสถ์[[แคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย|คาทารีเนน]] (Katharinenkirche) สร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 และน้ำพุ[[ไฮน์ริชที่ 12 ดยุกแห่งบาวาเรีย|ไฮน์ริชส์]]บรุนเนิน (Heinrichsbrunnen) สร้างเมื่อ ค.ศ. 1874
 
* บริเวณ "มักนิเฟียร์เทิล" (Magniviertel) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ในเขตเมืองเก่า เป็นเขตที่เก่าแก่ที่สุดเขตหนึ่งของเบราน์ชไวค์ เลียบไปตามถนนที่ปูด้วย[[หินกรวด]] มีร้านค้าขนาดเล็กและร้านกาแฟตั้งเรียงไปตามถนน ช่วงกลางของถนนเป็นที่ตั้งของโบสถ์มักนิ (Magnikirche) สร้างราว[[คริสต์ศตวรรษที่ 13]] นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของอาคารสำนักงาน ริซซีเฮาส์ (Rizzi-Haus) ซึ่งมีรูปลักษณ์ภายนอกโดดเด่นและสะดุดตาจากลวดลายการ์ตูน ออกแบบโดย[[สถาปนิก]]ชาวอเมริกัน เจมส์ ริซซี สำหรับงาน[[เอ็กซ์โป 2000]] ซึ่งจัดขึ้นที่เมือง[[ฮันโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]]
 
* โบสถ์[[นักบุญอันดรูว์|อันเดรอัส]] (Andreaskirche) สร้างด้วยสถาปัตยกรรม[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]และ[[สถาปัตยกรรมกอทิก|กอทิก]] สร้างในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 16 งานกระจกสีรังสรรค์โดยชาร์เลส โครเดิล (1894–1973) ภายนอกเป็นที่ตั้งของ "ลิเบไร" (Liberei) ซึ่งเป็นอาคารหอสมุด (อาคารเดี่ยว) ที่เก่าแก่ที่สุดในเยอรมนี<ref>Tina Stadlmayer, ''Wo Braunschweigs erste Bücher standen'', Merlin-Verlag, 2012, หน้า 7.</ref>