ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ดีบีซีออน→ดิบิซิออน
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เอสปาญา→เอสปัญญา
บรรทัด 52:
'''สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา''' ({{lang-ca|Futbol Club Barcelona}}) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า '''บาร์เซโลนา''' หรือคุ้นเคยในอีกชื่อว่า '''บาร์ซา''' ({{lang-ca|Barça}}) เป็น[[สโมสรฟุตบอล]]อาชีพสเปน ตั้งอยู่ที่เมือง[[บาร์เซโลนา]] [[แคว้นกาตาลุญญา]] [[ประเทศสเปน]] เล่นอยู่ใน[[ลาลิกา]]
 
สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาเป็นผู้ชนะเลิศในถ้วยสเปนปัจจุบัน เป็นสโมสรสเปนที่ประสบความสำเร็จในฟุตบอลสเปน ในแง่ของจำนวนถ้วยรางวัลภายในประเทศและทุกถ้วย โดยชนะเลิศในการแข่ง[[ลาลิกา]] 26 สมัย ชนะเลิศใน[[โกปาเดลเรย์]] 30 สมัย ชนะเลิศใน[[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา]] 10 สมัย ชนะเลิศใน[[โกปาเอบาดัวร์เต]] 3 สมัย และได้รางวัล [[โกปาเดลาลีกา]] 2 สมัย นอกจากนี้ยังเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จที่สุดในยุโรป โดยได้ชนะเลิศใน[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก]] 5 สมัย, ชนะเลิศใน[[ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ]] 4 สมัย ชนะเลิศใน[[ยูฟ่าซูเปอร์คัพ]] 5 สมัย และชนะเลิศ[[ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ]] 3 สมัย พวกเขายังมีสถิติชนะเลิศใน[[อินเตอร์-ซิตีส์แฟส์คัพ]] 3 สมัย ถ้วยต้นแบบของยูฟ่าคัพ
 
นอกจากนั้นยังเป็นสโมสรยุโรปสโมสรเดียวที่แข่งในฟุตบอลระหว่างทวีปในทุกฤดูกาลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1955 และเป็น 1 ใน 3 สโมสรที่ไม่เคยตกชั้นใน[[ลาลิกา]] ร่วมกับทีม[[แอทเลติกบิลบาโอ]]และ[[สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด|เรอัลมาดริด]] ในปี ค.ศ. 2009 เป็นสโมสรสเปนสโมสรแรกที่ได้ถือครองแชมป์ 3 รางวัล คือ ลาลิกา, โกปาเดลเรย์ และแชมเปียนส์ลีก และในปีเดียวกันนี้ยังเป็นสโมสรฟุตบอลสโมสรแรกที่ชนะในการแข่งขัน 6 รางวัลในปีเดียวกัน เพิ่มอีก 3 ถ้วยคือ [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา]], [[ยูฟ่าซูเปอร์คัพ]] และ[[ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ]]
 
ก่อตั้งในชื่อ '''ฟุตบอลคลับบาร์เซโลนา''' ใน ค.ศ. 1899 โดยกลุ่มของนักฟุตบอล[[สวิตเซอร์แลนด์|สวิส]] [[อังกฤษ]] และ[[สเปน]] นำโดย[[ฌูอัน กัมเป]] สโมสรถือเป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมกาตาลาและนิยมกาตาลา โดยมีคำขวัญทางการว่า "Més que un club" (แปลว่า มากกว่าสโมสร) ส่วนเพลงประจำสโมสรคือเพลง "[[กันดัลบาร์ซา]]" เขียนโดยเฌามา ปิกัส และ[[ฌูแซ็ป มาริอา อัสปินัส]] และที่แตกต่างจากสโมสรอื่นคือ ผู้สนับสนุนทีมเป็นเจ้าของและบริหารทีมบาร์เซโลนา ถือเป็นสโมสรฟุตบอลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกเป็นอันดับ 2 ในด้านของรายได้ ที่มีรายได้ประจำปี 398 ล้านยูโร<ref>{{Cite web|url=http://www.deloitte.com/view/en_GB/uk/industries/sportsbusinessgroup/sports/football/deloitte-football-money-league-2011/c774a9e481a7d210VgnVCM1000001a56f00aRCRD.htm|title=Top 20 clubs
บรรทัด 79:
ในวันอาทิตย์ที่ฝนตกของปี ค.ศ. 1951 กลุ่มคนออกจากสนามกีฬาเลสกอตส์ด้วยเท้าเปล่า หลังจากสโมสรชนะ[[ราซิงเดซานตันเดร์]] โดยปฏิเสธการขึ้นรถรางและสร้างความประหลาดใจให้กับเจ้าหน้าที่ของจอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก การประท้วงรถรางเกิดขึ้นในบาร์เซโลนาซึ่งก็ได้รับการสนับสนุนจากแฟนทีมบาร์เซโลนา เหตุการณ์ที่เกิดเช่นนี้ทำให้แสดงให้เห็นความเป็นอะไรที่มากกว่ากาตาลุญญา ชาวสเปนหัวก้าวหน้ามองว่าสโมสรเป็นผู้พิทักษ์ซึ่งซื่อสัตย์ต่อสิทธิและเสรีภาพ<ref>Ferrand, Alain; McCarthy, Scott. p. 90.</ref><ref>Witzig, Richard. p. 408.</ref>
 
ผู้จัดการ เฟอร์ดินานด์ เดาชีก ({{lang-sk|Ferdinand Daučík}}) และ [[ลัสโซล คูบาลา]] นำทีมให้ได้รับถ้วย 5 รางวัล รวมถึงในลาลิกา, โกปาเดลเฆเนราลิซิโม (ต่อมาใช้ชื่อว่า โกปาเดลเรย์), [[ละตินคัป]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา|โกปาเอบาดัวร์เต]] และโกปามาร์ตีนีรอสซี ในปี ค.ศ. 1952 ต่อมาในปี ค.ศ. 1953 สโมสรชนะในลาลิกาและโกปาเดลเฆเนราลิซิโม อีกครั้ง<ref name="fcbarcelona2"/>
=== กลุบเดฟุตบอลบาร์เซโลนา (1957–1978) ===
[[ไฟล์:Camp Nou des de l'helicòpter.jpg|thumb|right|alt=Barcelona stadium seen from above. It is a large and asymmetrically shaped dome.|สนามกีฬากัมนอว์ สนามการแข่งขันของสโมสรที่เริ่มก่อสร้างในปี ค.ศ. 1957 ด้วยทุนจากผู้สนับสนุนสโมสร<ref>Ball, Phil. p. 111.</ref>]]
บรรทัด 98:
[[ไฟล์:Johan Cruijff 1982.jpg|thumb|left|alt=photo of Johan Cruyff|upright|[[โยฮัน ไกรฟฟ์]] นำทีมชนะในลาลิกา 4 สมัยติดต่อกัน ในฐานะผู้จัดการทีมของบาร์เซโลนา]]
 
ในปี ค.ศ. 1988 [[โยฮัน ไกรฟฟ์]] ได้กลับมายังสโมสรในฐานะผู้จัดการทีมและเขาได้รวบรวมทีมที่รู้จักในชื่อ ทีมในฝัน เขาได้รวมนักฟุตบอลสเปนอย่าง [[ชูเซบ กวาร์ดีโอลา]], [[โคเซ มารี บาเกโร]] และ [[ตซีกี เบกีริสไตน์]] และยังเซ็นสัญญากับดาราจากต่างประเทศอย่าง [[โรนัลด์ กุมัน]] ({{lang-nl|Ronald Koeman}}), [[ไมเคิล เลาดรูป]] ({{lang-da|Michael Laudrup}}), [[โรมารีอู]], และ [[ฮริสโต ชตอยชคอฟ]] ({{lang-bg|Hristo Stoichkov}})<ref>Ball, Phil. pp. 106–107.</ref> ภายใต้คำแนะนำของไกรฟฟ์ บาร์เซโลนาชนะในการแข่งขันลาลิกา 4 สมัยติดต่อกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 ถึง 1994 ชนะ[[ซามพ์โดเรีย]]ในนัดชิงชนะเลิศทั้งใน[[ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ]] 1989 และ[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก|ถ้วยยุโรป]] 1992 ที่[[สนามกีฬาเวมบลีย์]] สโมสรยังชนะในโกปาเดลเรย์ ในปี ค.ศ. 1990, [[ยูฟ่าซูเปอร์คัพ]] ในปี ค.ศ. 1992 และชนะใน[[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา]] 3 ครั้ง กับจำนวนถ้วยรางวัล 11 ถ้วย ทำให้ไกรฟฟ์เป็นผู้จัดการทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดของสโมสรจนถึงวันนี้ เขายังเป็นผู้จัดการทีมที่รับตำแหน่งนี้นานที่สุด เป็นเวลา 8 ปี<ref name=honours>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.com/web/english/futbol/palmares/palmares.html |title=Honours |publisher=FC Barcelona |date= |accessdate=12 March 2010}}</ref> แต่ชะตาของไกรฟฟ์ก็ได้เปลี่ยนไปใน 2 ฤดูกาลท้ายสุดของเขา เมื่อเขาพลาดหลายถ้วย ทำให้เขาต้องออกจากสโมสรไป<ref name="fcbarcelona4"/>
 
[[บ็อบบี ร็อบสัน]] เข้ามาแทนที่ไกรฟฟ์ในระยะเวลาสั้น ๆ ในฤดูกาล 1996–97 ฤดูกาลเดียว เขานำโรนัลโดมาจาก[[พีเอสวีไอนด์โฮเวิน]] และยังชนะใน 3 ถ้วยคือ โกปาเดลเรย์, ยูฟ่าซูเปอร์คัพ และซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา ถึงแม้ว่าการเข้ามาของร็อบสันจะเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้น แต่ทางสโมสรก็ยังรอตัว[[ลุยส์ วาน กัล]]<ref name="fcbarcelona5">{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.com/web/english/club/historia/etapes_historia/etapa_5.html |title=History part V |publisher=FC Barcelona |date=15 June 2003 |accessdate=12 March 2010}}</ref> เช่นเดียวกับมาราโดนา โรนัลโดก็ออกจากสโมสรไปไม่นานจากนั้น ไปอยู่กับ[[สโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน|อินเตอร์มิลาน]] แต่ก็ได้วีรบุรุษคนใหม่อย่าง [[ลูอิช ฟีกู]], [[เปตริก ไคลเฟิร์ท]] ({{lang-nl|Patrick Kluivert}}), [[ลุยส์ เอนรีเก มาร์ตีเนซ การ์ซีอา|ลุยส์ เอนรีเก]] และ [[รีวัลดู]] ที่ทำให้ทีมชนะในโกปาเดลเรย์และลาลิกาในปี ค.ศ. 1998 และในปี ค.ศ. 1999 สโมสรฉลอง 100 ปี เมื่อชนะในปรีเมราดิบิซิออน (ลาลิกา) รีวัลดูเป็นนักฟุตบอลคนที่ 4 ของสโมสรที่ได้รับรางวัล[[นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป]] แต่ถึงแม้ว่าจะประสบความสำเร็จในการแข่งขันในประเทศ แต่ก็พ่ายให้กับเรอัลมาดริดในแชมเปียนส์ลีก ส่งผลให้วาน กัลและนูเญซลาออกในปี ค.ศ. 2000<ref name="fcbarcelona5"/>
 
=== นูเญซออก ลาปอร์ตาเข้ามา (2000–2008) ===
บรรทัด 107:
การจากไปของนูเญซและวาน กัล ไม่สามารถเปรียบได้กับการจากไปของ [[ลูอิช ฟีกู]] ซึ่งในตอนนั้นอยู่ในฐานะรองกัปตันทีม ได้กลายเป็นที่ชื่นชอบและชาวกาตาลาถือว่าเป็นพวกเดียวกับเขา แต่แล้วแฟนบาร์ซาก็ต้องคลุ้มคลั่งเมื่อฟีกูตัดสินใจย้ายไปอยู่กับทีมคู่แข่งอย่างเรอัลมาดริด เมื่อเขามาเยือนสนามกัมนอว์ เขาก็ต้องพบกับการตอบรับอย่างศัตรูอย่างสุดโต่ง ในการกลับมาเยือนครั้งแรกของเขา ผู้สนับสนุนสโมสรต่างก่อกวนอย่างเสียสติ มีการโยนขวดวิสกีลงมาในสนาม<ref>Ball, Phil. p. 19.</ref> ส่วนประธานสโมสร [[ชูอัง กัสปาร์ต]] เข้ามาทำหน้าที่แทนนูเญซ ในปี ค.ศ. 2000 เขาดำรงตำแหน่ง 3 ปี สโมสรเริ่มตกต่ำลงและผู้จัดการทีมเปลี่ยนเข้าเปลี่ยนออกหลายครั้ง วาน กัลมารับหน้าที่ผู้จัดการทีมเป็นครั้งที่ 2 กัสปาร์ตไม่สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้ได้ และในปี ค.ศ. 2003 เขาและวาน กัล ลาออกจากสโมสร<ref>Ball, Phil. pp. 109–110.</ref>
 
หลังจากในยุคแห่งความผิดหวังของกัสปาร์ต สโมสรก็ฟื้นกลับมาอีกครั้ง จากประธานหนุ่มคนใหม่ [[ชูอัน ลาปอร์ตา]] และผู้จัดการทีมหนุ่มคนใหม่ อดีตนักฟุตบอลชาวดัตช์ [[ฟรังก์ ไรการ์ด]] ({{lang-nl|Frank Rijkaard}}) ในส่วนของนักฟุตบอล มีนักฟุตบอลต่างชาติไหลบ่าเข้ามารวมกับนักฟุตบอลสเปน ทำให้สโมสรกลับมาประสบความสำเร็จอีกครั้ง บาร์ซาชนะในลาลิกาและซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา ในฤดูกาล 2004–05 และกองกลางของทีม [[รอนัลดีนโย]] ได้รับรางวัล[[นักฟุตบอลแห่งปีของฟีฟ่า]]<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/4486166.stm |title=Ronaldinho wins world award again |publisher=BBC News |date=19 December 2005 |accessdate=11 August 2010}}</ref>
 
ในฤดูกาล 2005–06 บาร์เซโลนาก็ยังคงรักษาตำแหน่งแชมป์ในลีกและถ้วย[[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา|ซูเปอร์คัป]]ได้อีก<ref>{{Cite news|url=http://www.independent.co.uk/sport/football/european/real-madrid-0-barcelona-3-bernabeu-forced-to-pay-homage-as-ronaldinho-soars-above-the-galacticos-516202.html |title=Real Madrid 0 Barcelona 3: Bernabeu forced to pay homage as Ronaldinho soars above the galacticos |work=The Independent |date=21 November 2005 |accessdate=11 August 2010 | location=London | first=Patrick | last=McCurdy}}</ref> ในแชมเปียนส์ลีก บาร์ซาชนะสโมสรจากอังกฤษ [[สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล]] ในรอบตัดสิน ชนะ 2–1 โดยตามหลังอาร์เซนอล 1–0 ที่มีจำนวนคน 10 บนสนาม 15 นาที ก่อนเวลาจะหมด พวกเขาก็กลับมาชนะได้ 2–1 เป็นชัยชนะถ้วยยุโรปครั้งแรกในรอบ 14 ปีของสโมสร<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/europe/4773353.stm |title=Barcelona 2–1 Arsenal |publisher=BBC News |date=17 May 2006 |accessdate=11 August 2010}}</ref> พวกเขายังได้ลงแข่ง[[ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ]] 2006 แต่ก็ได้พ่ายให้กับ [[สปอร์ตคลับอินเตร์นาเซียวนัล|อินเตร์นาเซียวนัล]] สโมสรของบราซิลในนัดตัดสิน ในช่วงท้ายเกม<ref>{{cite web|url=http://www.fifa.com/tournaments/archive/tournament=107/edition=248388/news/newsid=108718.html#internacional+make+japan |title=Internacional make it big in Japan |publisher=FIFA |date=17 December 2006 |accessdate=11 August 2010}}</ref> ถึงแม้ว่าจะเริ่มต้นอย่างดีในฤดูกาล 2006–07 แต่ก็จบฤดูกาลด้วยการไม่ได้ถ้วยอะไรมาครอง และต่อมาในการออกทัวร์ก่อนเปิดฤดูกาลในสหรัฐอเมริกา ก็เกิดความขัดแย้งระหว่างนักฟุตบอล [[ซามูแอล เอโต]] กับผู้จัดการทีม ไรการ์ด ที่ตำหนิเรื่องการไม่ได้ถ้วยใดมาครอง<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/africa/6353861.stm |title=Barcelona will not punish Eto'o |publisher=BBC News |date=14 February 2007 |accessdate=11 August 2010}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.soccerway.com/news/2007/August/03/barcelona-defends-asian-tour/ |title=Barcelona defends Asian tour |publisher=soccerway.com|work=AFP |date= |accessdate=11 March 2010}}</ref> ในลาลิกานั้น บาร์ซาถือเป็นอันดับ 1 เกือบทั้งฤดูกาล แต่ด้วยความไม่ลงรอยกัน ตั้งแต่เริ่มปีใหม่ ทำให้เรอัลมาดริดกลับขึ้นมาเป็นแชมป์ของลีกได้ ส่วนในฤดูกาล 2007–08 บาร์เซโลนาก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นในปีก่อน ๆ ทำให้ผู้จัดการทีมบาร์เซโลนาชุดบี [[ชูเซบ กวาร์ดีโอลา]] ขึ้นมาเป็นผู้จัดการทีมแทนไรการ์ด จนจบฤดูกาล<ref>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.com/web/english/noticies/destacades/n080508104104.html|title=Rijkaard until 30 June; Guardiola to take over|date=8 May 2008|accessdate=8 May 2009|publisher=FC Barcelona}}</ref>
 
บาร์ซาชนะ[[แอทเลติกบิลบาโอ]]ในรอบชิงชนะเลิศโกปาเดลเรย์ 2009 กับจำนวนประตู 4–1 ทำลายสถิติเป็นผู้ชนะมากที่สุดถึง 25 ครั้งสำหรับการแข่งขันนี้ อีก 3 วันต่อมาก็ชนะเรอัลมาดริดในลาลิกาทำให้บาร์เซโลนาเป็นผู้ชนะเลิศในฤดูกาล 2008–09 และจบฤดูกาลด้วยการชนะแชมป์ปีที่แล้วของแชมเปียนส์ลีก [[สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด]] 2–0 ที่สนาม[[สตาดีโอโอลิมปีโก]] ที่[[กรุงโรม]] เป็นชัยชนะครั้งที่ 3 ในแชมเปียนส์ลีก และเป็นทีมสเปนทีมแรกที่ได้ 3 ถ้วยในฤดูกาลเดียวกัน<ref>{{cite web|url=http://soccernet.espn.go.com/columns/story?id=646187&sec=europe&root=europe&&cc=5739|title=One title closer to the treble|date=14 May 2009|publisher=[[ESPN]]|first=Eduardo|last=Alvarez|accessdate=30 May 2009}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/europe/8060878.stm|title=Barcelona 2–0 Man Utd|date=27 May 2009|publisher=BBC Sport|accessdate=30 May 2009}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.thesportreview.com/tsr/2009/05/pep-guardiola-barcelona/|title=Pep Guardiola's love affair with Barça continues|date=19 May 2009|publisher=Thesportreview.com|accessdate=31 May 2009}}</ref> สโมสรยังชนะการแข่งขันซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2009 แข่งกับแอทเลติกบิลบาโอ<ref>{{Cite news|title=Messi leads Barcelona to Spanish Supercup win|publisher=CNN Sports Illustrated. Associated Press|date=23 August 2009|url=http://sports.sportsillustrated.cnn.com/gold/story.asp?i=20090823224656240000201|accessdate=25 December 2009}}</ref> และใน[[ยูฟ่าซูเปอร์คัพ]] 2009 ที่แข่งกับ[[สโมสรฟุตบอลชาคห์ตาร์โดเนตสค์]]<ref>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.cat/web/english/futbol/temporada_09-10/arxiu_partits/supercopa_europa/final/jornada01/Barcelona_Shakhtar_Donetsk/partit.html |title=Barcelona vs Shakhtar Donetsk |publisher=FC Barcelona |date= |accessdate=13 March 2010}}</ref> บาร์เซโลนาก็ได้ชัยชนะมา ถือเป็นสโมสรยุโรปสโมสรแรกที่ชนะได้ทั้งในถ้วยในบ้านและถ้วยซูเปอร์คัพ ต่อมาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 บาร์เซโลนาก็ชนะใน[[ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ]] 2009<ref>{{Cite book| url = http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/8422908.stm | title = Barcelona beat Estudiantes to win the Club World Cup | publisher = BBC Sport | date = 19 December 2009|accessdate=14 April 2010}}</ref> ทำให้เป็นทีมแรกที่สามารถได้ถ้วยถึง 6 ถ้วยมาครอง<ref>{{cite web|url=http://www.fifa.com/worldfootball/news/newsid=1151676.html |title=The year in pictures |publisher=FIFA.com |date=13 December 2009|accessdate=13 March 2010}}</ref> บาร์เซโลนายังสร้างสถิติใหม่ 2 สถิติให้กับวงการฟุตบอลสเปนในปี ค.ศ. 2010 โดยการเป็นผู้ชนะในลาลิกากับคะแนนสูงถึง 99 คะแนน และได้ถ้วยซูเปอร์คัพของสเปนมากที่สุด เป็นครั้งที่ 9<ref>{{cite web|url=http://www.usatoday.com/sports/soccer/2010-05-16-barcelona-spanish-league-title_N.htm|title=Messi, Barcelona set records in Spanish league title repeat|work=USA Today|date=16 May 2010|accessdate=11 August 2010}}</ref>
 
=== ยุคของกวาร์ดีโอลา (2008–2012) ===
บรรทัด 168:
บาร์เซโลนาถือสถิติผู้ครองแชมป์มากที่สุดใน 5 ลีกใหญ่ของยุโรป คือ 90 แชมป์
 
บาร์เซโลนายังถือสถิติผู้ครองแชมป์มากที่สุดในการแข่งขัน [[ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก]] (3), [[ยูฟ่าซูเปอร์คัพ]] (5), [[โกปาเดลเรย์]] (28) และ [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา]] (12)
 
นักฟุตบอลที่สามารถคว้าแชมป์กับทีมบาร์เซโลนาได้มากที่สุด คือ [[ลิโอเนล เมสซิ]] และ [[อันเดรส อีเนียสตา]] ครองสถิติร่วมกันที่ 29 แชมป์
บรรทัด 256:
| [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1910|1909–10]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1912|1911–12]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1913|1912–13]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1920|1919–20]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1922|1921–22]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1925|1924–25]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1926|1925–26]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1928|1927–28]], [[1942 Copa del Generalísimo|1941–42]], [[1951 Copa del Generalísimo|1950–51]], [[1952 Copa del Generalísimo|1951–52]], [[1952–53 Copa del Generalísimo|1952–53]], [[1957 Copa del Generalísimo|1956–57]], [[1958–59 Copa del Generalísimo|1958–59]], [[1962–63 Copa del Generalísimo|1962–63]], [[1967–68 Copa del Generalísimo|1967–68]], [[1970–71 Copa del Generalísimo|1970–71]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1977–78|1977–78]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1980–81|1980–81]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1982–83|1982–83]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1987–88|1987–88]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1989–90|1989–90]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1996–97|1996–97]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 1997–98|1997–98]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2008–09|2008–09]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2011–12|2011–12]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2014–15|2014–15]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2015–16|2015–16]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2016–17|2016–17]], [[โกปาเดลเรย์ ฤดูกาล 2017–18|2017–18]]
|-
! scope=col|[[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา]]
|bgcolor="gold"|'''13'''
| [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 1983|1983]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 1991|1991]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 1992|1992]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 1994|1994]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 1996|1996]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2005|2005]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2006|2006]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2009|2009]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2010|2010]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2011|2011]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2013|2013]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2016|2016]], [[ซูเปร์โกปาเดเอสปาญาปัญญา 2018|2018]]
|-
! scope=col|[[โกปาเอบาดัวร์เต]]