ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎออกเตต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
PointlessUsername (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงไม่ให้วกวน ใส่แหล่งข้อมูล
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Octeto.png|frame|พันธะใน[[คาร์บอนไดออกไซด์]] (CO<sub>2</sub>): ที่ทั้ง C และ O ล้อมรอบด้วย[[อิเล็กตรอน]] 8 ,ตัว ตามกฎออกเตต CO<sub>2</sub> จึงจัดเป็นโมเลกุลที่เสถียร]]
'''กฎออกเตต'''คือกฎที่[[อะตอม]]พยายามที่จะทำให้[[เวเลนซ์อิเล็กตรอน]]ของตัวมันเองให้ครบแปดซึ่งมี[[โครงแบบอิเล็กตรอน|การจัดเรียงอิเล็กตรอน]]เหมือน[[แก๊สมีตระกูล|แก๊สเฉื่อย]]และเป็นสภาพที่เสถียรที่สุด ยกเว้น
 
* ธาตุตั้งแต่คาบ 3 ลงไปสามารถมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเกิน 8 ได้ เพราะอิเล็กตรอนสามารถเข้าไปอยู่ใน d orbital ได้
ข้อยกเว้น ได้แก่
* ธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่า 4 เมื่อเกิดสารประกอบอาจมีเวเลนซ์น้อยกว่า 8 ก็ได้
 
* ธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า 4 เมื่อเกิดสารประกอบอาจมีเวเลนซ์มากกว่า 8 ก็ได้
* ธาตุลำดับแรก ๆ ของตารางธาตุ จะเป็นไปตาม'''กฎดูเอต''' นั่นคือธาตุเหล่านี้จะพยายามทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบสอง เพื่อให้จัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนฮีเลียมซึ่งเป็นแก๊สเฉื่อยที่ใกล้เคียงธาตุเหล่านี้ที่สุด
*- ถ้ามีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่เรียกพันธะที่เกิดว่า พันธะเดี่ยว
*[[เบริลเลียม]] [[โบรอน]] และ[[อะลูมิเนียม]] อาจเกิดสารประกอบโคเวเลนต์ซึ่งไม่ครบออกเตต เช่น BeCl<sub>2</sub> BF<sub>3</sub> และ AlCl<sub>3</sub> สารเหล่านี้มักมีสมบัติเป็น[[ทฤษฎีกรด–เบส#นิยามของลิวอิส|กรดลิวอิส]] และทำปฏิกิริยาเกิด[[พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์]]เพื่อทำให้ตัวเองครบออกเตต
*- ถ้ามีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่เรียกพันธะที่เกิดว่า พันธะคู่
* ธาตุตั้งแต่คาบ 3 ลงไปสามารถมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเกิน 8 ได้ เพราะอิเล็กตรอนสามารถเข้าไปอยู่ในออรฺ์บิทัล d orbital ได้ เช่น PCl<sub>5</sub> และ SF<sub>6</sub>
*- ถ้ามีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่เรียกพันธะที่เกิดว่า พันธะสาม
*สารประกอบบางชนิดมีความเสถียรทั้ง ๆ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเป็นคี่ เช่น NO
*-ข้อยกเว้น อะตอมของธาตุในสารบางชนิดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็นแบบแก๊สเฉื่อยแต่เสถียร เช่น BeCl2 สารประกอบธาตุคู่ที่เกิดจากธาตุ Be,Al,Hg กับธาตุหมู่7A ออกไซด์ของไนโตรเจนบางชนิด เช่น NO N2O NO2
 
== แหล่งข้อมูล ==
 
* Petrucci, R. H., Herring, F. G., Madura, J. D., Bissonnette, C. (2011). "Chapter 10: Chemical Bonding I: Basic Concepts". ''General Chemistry: Principles and Modern Applications.'' (10th ed.) Toronto: Pearson Canada. ISBN 978-0-13-206452-1.
 
[[หมวดหมู่:เคมี]]
{{โครงเคมี}}