ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เเก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8254927 สร้างโดย 223.205.110.75 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล จักรพรรดิญี่ปุ่น
| name = สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ
| image = Crown Prince Naruhito (2018).jpg
บรรทัด 9:
| father = [[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]] <!-- ถ้าจะใช้ว่า "จักรพรรดิเฮเซ" ต้องหลังสวรรคต -->
| mother = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีมิจิโกะ]]
| spouse-type = จักรพรรดินี
| spouse = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีมาซาโกะ]]
| issue = [[เจ้าหญิงไอโกะ เจ้าโทะชิ]]
เส้น 24 ⟶ 23:
{{พระราชวงศ์ญี่ปุ่น}}
 
'''สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|徳仁天皇}}) ทรงเป็น[[จักรพรรดิญี่ปุ่น]]องค์พระองค์ที่ 126 ทรงขึ้นครองราชสมบัติต่อจาก[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 ทรงสำเร็จการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยกะคุชูอิน]] และ[[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]] ทรงสนพระทัยในเรื่องของประวัติศาสตร์และดนตรี และยังโปรดปรานการสี[[วิโอลา]]อีกด้วย พระองค์ทรงอภิเษกกับมาซาโกะ โอวาดะ ที่จบการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ในสาขาเศรษฐศาสตร์ และทางด้านการทูตที่กระทรวงการต่างประเทศ
 
== พระราชประวัติ ==
[[ภาพ:Naruhito19610204.jpg|180px|thumb|left|upright|เจ้าชายนารูฮิโตะ ในปี พ.ศ. 2504]]
ครั้นแรกพระราชสมภพ จักรพรรดินารูฮิโตะทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น '''เจ้าชายฮิโระ''' ({{ญี่ปุ่น|浩宮 |ฮิโระ-โนะ-มิยะ}}) และได้ทรงดำรงพระราชอิสริยยศนั้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2534 <ref>http://www.kunaicho.go.jp/e02/ed02-04.html Kunaicho.go.jp, the Imperial Household Agency website, retrieved 4th December, 2008 {{ลิงก์เสีย}}</ref> จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมกุฎราชกุมาร เป็นเวลาสองปีภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของ [[สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ]] พระราชอัยกาของพระองค์ เมื่อปี พ.ศ. 2532
 
ทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีและโทจาก[[มหาวิทยาลัยกะกุชุอิง]] ในสาย[[ประวัติศาสตร์]] ในปี พ.ศ. 2525 และ พ.ศ. 2531 ตามลำดับ แต่ในปี พ.ศ. 2526-2528 ทรงไปศึกษาต่อที่[[สหราชอาณาจักร]] ในวิทยาลัยเมอร์ตันแห่ง[[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]]
เส้น 36 ⟶ 35:
== ชีวิตส่วนพระองค์ ==
=== การอภิเษกสมรส ===
จักรพรรดินารูฮิโตะ ทรงดำเนินการเพื่ออภิเษกสมรส กับสตรีวัย 29 ปี ชาวญี่ปุ่น นามว่า [[เจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น|มะซะโกะ โอะวะดะ]] เธอเป็นนักการทูตในกระทรวงการต่างประเทศ ที่เดียวกับที่ทำงานของบิดาเธอ คือ [[ฮิซะชิ โอะวะดะ]] ที่ปัจจุบันเป็นตุลาการ[[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]] และเป็นอดีตรองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รวมถึงอดีตทูตญี่ปุ่นประจำ[[สหประชาชาติ]] โดยที่สำนักพระราชวังหลวงโตเกียว ได้ประกาศถึงการหมั้นหมายของทั้งสองพระองค์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2536
 
พระราชพิธีอภิเษกสมรส ถูกจัดขึ้นในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2536 ที่หอชินโตของพระราชวังหลวงโตเกียว มีแขกผู้ได้รับเชิญราว 800 คน ซึ่งรวมถึงพระราชวงศ์จากราชวงศ์ในยุโรปจำนวนมาก และมีการถ่ายทอดสดไปยังผู้ชมราว 500 ล้านคนทั่วโลก ทั้งสองพระองค์ได้เลือกพำนักที่[[วังโทงู]] ใน[[มินะโตะ (โตเกียว)|เขตมินะโตะ]] [[โตเกียว]]
เส้น 47 ⟶ 46:
 
== การสละราชสมบัติของพระราชบิดา ==
เมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2560]] สำนักพระราชวังอิมพีเรียล ได้ประกาศว่า[[จักรพรรดิเฮเซ]] จะสละราชสมบัติในวันที่ [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 2562]] เนื่องจากทรงเห็นว่าทรงอยู่ในวัยพระชราภาพ อีกทั้งพระพลานามัยที่อ่อนล้าลง ทำให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจได้ยากลำบากขึ้น และจะเปิดทางให้ เจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมาร ขึ้นครองราชสมบัติแทน
 
เป็นครั้งแรกในรอบ 200 กว่าปี ที่[[จักรพรรดิญี่ปุ่น|สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น]] ประกาศสละราชสมบัติ หลังจากที่[[จักรพรรดิโคกะกุ|สมเด็จพระจักรพรรดิโคกะกุ]] ได้สละราชสมบัติให้กับ [[จักรพรรดินินโก|สมเด็จพระจักรพรรดินินโก]] พระราชโอรส พระองค์ล่าสุด เมื่อวันที่ [[7 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2360]] (วันที่ 22 เดือน 3 ปี บุงกะ ที่ 14) ซื่งสภาสำนักพระราชวังอิมพีเรียล ซึ่งประกอบด้วย [[ชินโซ อะเบะ|นายกรัฐมนตรี ชินโซ อะเบะ]] พร้อมด้วย[[สภาผู้แทนราษฎร (ญี่ปุ่น)|ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] [[สำนักพระราชวังญี่ปุ่น|คณะองคมนตรี]] และผู้แทนสมาชิกราชวงศ์ญี่ปุ่น [[เจ้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ]] เสด็จฯ ออกพร้อมด้วย [[เจ้าหญิงฮะนะโกะ พระชายาในเจ้าชายมะซะฮิโตะ|เจ้าหญิงฮะนะโกะ พระชายาฯ]] ได้มีการประชุมร่วมกันเมื่อวันศุกร์ที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2560]] เพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการสละราชบัลลังก์ของ[[จักรพรรดิเฮเซ]] โดยต่อมา [[ชินโซ อะเบะ|ชินโซ อะเบะ]] นายกรัฐมนตรี]]ได้แถลงต่อนักข่าวสั้น ๆ ว่า ''สภาสำนักพระราชวังอิมพีเรียล กำหนดวันสละราชบัลลังก์ในวันที่ [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 2562]]''
 
[[จักรพรรดิเฮเซ]] ขณะนี้มีพระชนมพรรษา 84 พรรษา พระองค์ได้เคยผ่านการผ่าตัดพระหทัยและการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากมาแล้ว เมื่อปี [[พ.ศ. 2559]] ที่ผ่านมา พระองค์เคยตรัสว่า
 
{{คำพูด|ทรงมีพระชนมพรรษามากขึ้น และพระพลานามัยอ่อนแอลง ทำให้การทรงงานและปฏิบัติพระราชกรณียกิจทำได้ไม่เต็มที่|}}
เส้น 88 ⟶ 87:
| 2 = 2. [[จักรพรรดิเฮเซ]]
| 3 = 3. [[สมเด็จพระจักรพรรดินีมิจิโกะ|มิจิโกะ โชดะ, สมเด็จพระจักรพรรดินี]]
| 4 = 4. [[สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ]]
| 5 = 5. [[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง|เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ]]
| 6 = 6. ฮิเดะซะบุโร โชดะ
| 7 = 7. ฟุมิโกะ โซะเอะจิมะ
| 8 = 8. [[สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช]]
| 9 = 9. [[สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม|ซะดะโกะ คุโจ]]
|10 = 10. เจ้าชายคุนิโยชิแห่งคุนิ
|11 = 11. ชิกะโกะ ชิมะสึแห่งแคว้นซะสึมะ
เส้น 100 ⟶ 99:
|14 = 14. สึนะทะเกะ โซะเอะจิมะ
|15 = 15. อะยะ
|16 = 16. [[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]]
|17 = 17. [[นะรุโกะ ยะนะงิวะระ|พระสนมนะรุโกะ ยะนะงิวะระ]]
|18 = 18. [[เจ้าชายมิชิตะกะ คุโจ|มิชิตะกะ คุโจ]]
เส้น 129 ⟶ 128:
| รูปภาพ = Flag_of_the_Japanese_Emperor.svg
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์ญี่ปุ่น
| ปี = 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน
เส้น 152 ⟶ 151:
{{ประมุขแห่งรัฐG20}}
 
{{เรียงลำดับ|นารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น}}
{{เกิดปีอายุขัย|2503|}}
[[หมวดหมู่:เจ้าชายจักรพรรดิญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:มกุฎราชกุมาร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโตเกียว]]