ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมกษะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''โมกษะ''' (ชื่ออื่น ๆ เช่น วิโมกษะ, วิมุขติ, มุขติ)<ref>{{Cite web |url=http://www.sgilibrary.org/search_dict.php?id=2602 |title=''The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism'', ''vimoksha'' |access-date=17 February 2014 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140222011614/http://www.sgilibrary.org/search_dict.php?id=2602 |archive-date=22 February 2014 |dead-url=yes |df=dmy-all }}</ref> เป็นคำศัพท์ในศาสนา[[ฮินดู]] [[พุทธ]] [[ซิกข์]] และ [[ศาสนาเชน|เชน]] หมายถึงรูปแบบต่าง ๆ ของการปลดปล่อย (emancipation), การตรัสรู้ (enlightment), การเป็นอิสระ (liberation) และการปล่อยไป (release)<ref>John Bowker, The Oxford Dictionary of World Religions, Oxford University Press, {{ISBN|978-0192139658}}, p. 650</ref> ในเชิง[[โมกขวิทยา]] (soteriology) และเชิง[[โลกาวินาศอวสานวิทยา]] (eschatology) หมายถึงอิสระจาก[[สังสารวัฏ]] คือวงจรแห่ง[[การเกิดใหม่|การเกิด]]และตาย{{sfn|Sharma|2000|p=113}} ในขณะที่ความหมายในเชิง[[ญาณวิทยา]] (epistemology) และในเชิง[[จิตวิทยา]] "โมกษะ" หมายถึงอิสระจากความไม่รู้ (ignorance) คือ การเข้าใจตัวเอง รู้จักตัวเอง และปรับปรุงตัวเอง<ref>See:
* E. Deutsch, The self in Advaita Vedanta, in Roy Perrett (Editor), Indian philosophy: metaphysics, Volume 3, {{ISBN|0-8153-3608-X}}, Taylor and Francis, pp 343-360;
* T. Chatterjee (2003), Knowledge and Freedom in Indian Philosophy, {{ISBN|978-0739106921}}, pp 89-102; Quote - "Moksa means freedom"; "Moksa is founded on atmajnana, which is the knowledge of the self.";
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โมกษะ"