ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสาในศาสนาเชน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Jain.gif|thumb|150px|สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน]]
 
ใน[[ศาสนาเชน]] '''อหิงสา''' ({{lang-sa|अहिंसा}}<ref name="Johansson2012">{{cite book|author=Rune E. A. Johansson|title=Pali Buddhist Texts: An Introductory Reader and Grammar|url=https://books.google.com/books?id=CXBmlQvw7PwC&pg=PT143 |date=6 December 2012|publisher=Routledge|isbn=978-1-136-11106-8|page=143}}</ref>) เป็นหลักการหลักสำคัญพื้นฐานของศาสนา คำว่า "[[อหิงสา]]" แปลว่า "การไม่รุนแรง" (nonviolence) การไม่ทำร้าย และปราศจากความคิดที่จะทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่นใด การปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนาเชน โดยเฉพาะการทาน[[มังสวิรัติ]] ล้วนแล้วแต่มาจากหลักพื้นฐานของอหิงสาทั้งนั้น หลักอหิงสาในศาสนาเชนต่างจากในปรัชญาอินเดียอื่น ๆ มาก ความรุนแรง (หิงสา violence) ในศาสนาเชนไม่ได้หมายถึงแค่การทำร้ายผู้อื่น แต่หมายถึงการทำร้ายตนเองด้วย อันทำให้ออกห่างจากการเข้าถึง[[โมกศะโมกษะ (ศาสนาเชน)|โมกศะโมกษะ]] (การหลุดพ้นจากสังสารวัฒ).<ref name="Jaini 1998 167">{{harvnb|Jaini|1998|p=167}}</ref> นอกจากนี้ยังต้องถือหลักอหิงสาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ไม่เพียงแต่มนุษย์ สัตว์ แต่รวมถึงพืช ต้นไม้ จุลินทรีย์ แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตาเปล่ามองเห็น และสิ่งที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีชีวิต ทุกชีวิตล้วนได้รับการเคารพและล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่โดยปราศจากความกลัว สิ่งมีชีวิตทั้งปวงจะไม่ต้องกลัวผู้ที่ถือหลักอหิงสา การปกป้องชีวิตอื่นนั้นเรียกว่า "อภัยธานัม" (abhayadānam) ถือเป็นการทำบุญที่สูงสุดที่มนุษย์คนหนึ่งจะกระทำได้<ref name="Varni, Jinendra 1993">{{harvnb|Varni|1993|p=335}} "Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana"</ref>
 
อหิงสา นอกจากจะหมายถึงการไม่รุนแรงในเชิงกายภาพและการกระทำแล้ว ยังหมายถึงความคิดที่ปราศจากความอยากที่จะสร้างความรุนแรงใด ๆ ด้วย<ref name="ReferenceA">{{harvnb|Varni|1993|p=154}} "Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma, whether you actually kill or not; from the real point of view, this is the nature of the bondage of Karma."</ref> ดังนั้นศาสนาเชนจึงยึดหลักการทานมังสวิรัติมาเป็นเวลาช้านานแล้ว<ref name="Dundas 2002">{{harvnb|Dundas|2002}}</ref>