ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภาไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 65:
นอกจากนี้ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรี]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[สมาชิกวุฒิสภา]] [[ประธานศาลฎีกา]] [[ประธานศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ประธานศาลปกครองสูงสุด]] หรือ[[อัยการสูงสุด]] รวมทั้ง[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|กรรมการการเลือกตั้ง]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา]] [[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] [[ผู้พิพากษา]]หรือ[[ตุลาการ]] [[พนักงานอัยการ]] หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ผู้มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปรกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้.
 
=== วุฒิสภาตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 25602562]] ===
มาตรา 269 ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนสองร้อยห้าสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติพคทsถวายคำแนะนำ
มาตรา 270 นอกจากจะมีหน้าที่และอำนาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ให้วุฒิสภาตามมาตรา 269 มีหน้าที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุกสามเดือน<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/25602562/A/040/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 25602562]</ref> <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/068/1.PDF พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๑]</ref>
 
== ลำดับชุดวุฒิสภา ==