ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายกักกันแบร์เกิน-เบ็ลเซิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5:
ภายหลังปี ค.ศ. 1945 ชื่อนี้ได้ถูกนำไปใช้กับค่ายผู้ที่ถูกขับไล่ที่จัดตั้งขึ้นในบริเวณใกล้เคียง แต่มันมักจะมีเกี่ยวข้องกับค่ายกักกันเป็นส่วนใหญ่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941 ถึง 1945 จำนวน[[เชลยศึก]][[โซเวียต]]ประมาณ 20,000 คน และอีก 50,000 คนได้เสียชีวิตที่นั่น<ref name=Oppenheimer>{{cite book|author=Oppenheimer, Paul |date=1996| title=From Belsen to Buckingham Palace|location= Nottingham|publisher= Quill Press|isbn= 978-0-9536280-3-2}}</ref> ด้วยความแน่นเบียดแออัดกัน ขาดแคลนอาหารและสภาพสุขาภิบาลที่แย่ทำให้เกิดการระบาดของ[[ไข้รากสาดใหญ่]] [[วัณโรค]] [[ไข้รากสาดน้อย]] และ[[โรคบิด]] นำไปสู่การเสียชีวิตของผู้คนมากกว่า 35,000 คน ในช่วงสองสามเดือนแรกของปี ค.ศ. 1945 ไม่นานก่อนและหลังได้รับการปลดปล่อย
 
ค่ายแห่งนี้ได้รับการปลดปล่อยเมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1945 โดย[[กองพลยานเกราะที่ 11 (สหราชอาณาจักร)|กองพลยานเกราะบริติซที่ 111]]1<ref name=11th>[http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10006188 "The 11th Armoured Division (Great Britain)"], United States Holocaust Memorial Museum.</ref> ทหารได้พบว่าเชลยภายในค่ายกักกันประมาณ 60,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพกึ่งอดอยากและป่วยหนัก<ref name=BB>{{cite web|url=http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10005224|title=Bergen-Belsen|website=www.ushmm.org}}</ref> และอีก 13,000 ศพ รวมทั้ง[[อันเนอ ฟรังค์|อันเนอ]] และ[[มาร์กอท ฟรังค์]] ที่นอนตายอยู่บริเวณรอบค่ายที่ยังไม่ได้ถูกฝัง<ref name=11th/> ด้วยความน่าสะพรึงกลัวของค่าย แฟ้มเอกสารบนฟิล์มและในรูปถ่ายทำให้ชื่อ"เบ็ลเซิน" กลายเป็นสัญลักษณ์ของการก่ออาชญากรรมของ[[นาซี]]โดยทั่วไปเพื่อแสดงความคิดเห็นจากสาธารณชนในหลายประเทศในช่วงเวลาหลังปี ค.ศ. 1945 ปัจจุบัน,ได้มีอนุสรณ์สถานที่มีห้องโถงนิทรรศการที่จัดตั้งขึ้นในเมือง
 
== อ้างอิง ==