ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซุนนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
ซึ่งทั้งสองกลุ่มก็ถือเป็นอะฮฺลิสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺด้วยกันทั้งคู่ ดังนั้นคำว่าคณะใหม่ คณะเก่าจึงเป็นเพียงการเรียกขานคนที่มีความเห็นและการปฏิบัติในข้อปลีกย่อยไม่เหมือนกันตามประสาคนที่ชอบแบ่งพรรคแบ่งพวกหรือตะอัศศุบนั่นเอง
 
มีรายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อัมร์ อิบนิ อัล-อาศ (ร.ฎ.) ว่า : ท่านรสูลุล ลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวขณะที่ท่านถูกถามถึงกลุ่มที่รอดพ้น (อัล-ฟิรฺเกาะฮฺ อัน-นาญิยะฮฺ) ว่าคือผู้ใด? ท่านกล่าวว่า :
== ประวัติ ==
ในสมัยการปกครองของ[[ยะซีด บินมุอาวิยะหฟิกฮ์]] คำสั่งสอนแห่งอัลกุรอานและแห่งศาสนทูตถูกละทิ้ง ชาวมะดีนะฮ์ผู้เคร่งครัดถูกได้รับความกดดันจากตระกูลอุมัยยะฮ์ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลาม และภายใต้ความกดดันนั้นได้เกิดหล่อหลอมเป็นกลุ่มผู้ยึดมั่นในแนวทางอิสลามแบบเดิม เพื่อต่อต้านตระกูลอุมัยยะฮ์ โดยเฉพาะหลังจากที่กองทัพจากชาม ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะฮ์ฟิกฮ์ ได้สังหารฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด พร้อมกับญาติพี่น้อง ที่กัรบะลาอ์ 73 คนในปี ค.ศ. 680 และต่อมาในปี ค.ศ. 683 ยะซีดส่งกองทัพเพื่อโจมตีพระนครมะดีนะฮ์ที่อับดุลลอฮ์ บินอุมัร อิบนุลคอฏฏอบ เป็นผู้นำในการต่อต้านการปกครองของยะซีด และโจมตีมักกะฮ์ ที่[[อับดุลลอฮ์ อินนุซซุเบร]]สถาปนาตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์แห่งอาณาจักรอิสลาม ชาวเมืองมะดีนะฮ์ร่วมกันออกต้านทัพของยะซีด ที่นำโดยอุกบะหฟิกฮ์ ณ สถานที่ที่มืชื่อว่า [[อัลฮัรเราะฮ์]] แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จนกองทัพของยะซีดสามารถเข้าปล้นสะดมเมืองมะดีนะฮ์ เป็นเวลาสามวันสามคืนตามคำสั่งของยะซีด ทหารชาม เข่นฆ่าผู้คน และข่มขืนสตรี จนกระทั่งมีผู้คนล้มตายประมาณ 10,000 คน ในจำนวนนั้นมีบุคคลสำคัญ 700 คน นอกจากนั้นมีผู้หญิงตั้งท้องเนื่องจากถูกข่มขืนชำเราอีก 500 คน หลังจากนั้นกองทัพชามก็มุ่งสู่มักกะฮ์เพื่อปราบปรามอิบนุซซุเบร โดยเข้าเผากะอ์บะฮ์ และเข่นฆ่าผู้คน ประชาชนชาวมุสลิมต่อต้านการปกครองตลอดมา แต่แล้วในปี ค.ศ. 692 อับดุลมะลิก บินมัรวานก็ส่ง [[ฮัจญาจญ์ บินยูสุฟ อัษษะกอฟี]] มาโจมตีมักกะฮ์อีกครั้ง ครั้งนี้อับดุลลอฮ์ อิบนุซซุเบร ถูกสังหารและศพถูกตรึงที่ไม้ ปักไว้หน้ากะอ์บะฮ์ ส่วนกะอ์บะฮ์ก็ถูกทำลาย
 
مَاأَنَاعَلَيْهِ وَأَصْحَابِيْ
ตั้งแต่นั้นมา ผู้คนในอาณาจักรอิสลามแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มชนใหญ่ ๆ พวกที่ฝักใฝ่ทางโลกก็สนับสนุนการปกครองของตระกูลอุมัยยะฮ์ พวกที่ต่อต้านการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮ์ ยึดถือบุตรหลานศาสนทูตเป็นผู้นำก็คือพวก[[ชีอะฮ์]] พวกที่เชื่อว่าบรรดาสาวกคือผู้นำและสานต่อสาส์นแห่งอิสลามหลังจากนบีมุฮัมมัด พวกนี้คือ [[อะฮ์ลุสซุนนะฮ์]] ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการบัญญัติศัพท์นี้ เพราะคำว่า ซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ ถูกบัญญัติขึ้นมาจริง ๆ โดย[[อะฮ์มัด บินฮันบัล]] (ค.ศ. 780-855 / ฮ.ศ.164-241) นอกจากนี้ยังมีพวกคอวาริจญ์ ที่เป็นกบฏและแยกตัวออกจากอำนาจการปกครองของอิมามอะลี เมื่อครั้งที่เป็นเคาะลีฟะฮ์ที่ 4
 
“คือสิ่งที่ฉันและบรรดาสหายของฉัน (สาวก) ดำรงอยู่บนสิ่งนั้น”
ในฮิจญ์เราะหฟิกฮ์ศตวรรษที่ 3 และที่ 4 ได้มีการรวบรวม[[ฮะดีษ]]ขึ้นมา จัดเป็นอนุกรมและหมวดหมู่ เรียกในภาษาไทยว่า พระวจนานุกรม ในสายอะฮ์ลุสซุนนะฮ์ มีมากกว่า 10 พระวจนานุกรม ที่สำคัญคือ 6 พระวจนานุกรม ที่ผู้รวบรวมโดยอัลบุคอรี, มุสลิม, อัตตัรมีซี, อะบูดาวูด, อิบนุมาญะฮ์ และอันนะซาอี นอกจากนี้ยังมีพระวจนานุกรมที่รวบรวมโดย มาลิก บินอะนัส (เจ้าสำนักมาลิกีย์) , อะฮหมัด บินฮันบัล (เจ้าสำนักฮันบะลีย์), อิบนุคุซัยมะฮ์, อิบนุฮิบบาน และอับดุรรอซซาก ในยุคหลังนี้ได้มีการตรวจสอบสายรายงานอย่างถี่ถ้วน พระวจนานุกรมอัลบุคอรีและมุสลิมได้รับการยอมรับมากที่สุดในสังคมมุสลิมซุนนี
 
(อัต-ติรฺมิซียฺ : 2643)
 
ในสายรายงานของหะดีษบทนี้ มีอับดุลเราะหฺมาน อิบนุ ซิยาด อัล-อัฟรีกียฺ ซึ่ง อิมามอัซ-ซะฮะบียฺ (ร.ฮ.ป ระบุว่า บรรดานักวิชาการหะดีษถือว่าเขาผู้นี้อ่อน (เฎาะอีฟ) (ฟัยฎุลเกาะดีร ; อัล-มินาวียฺ 5/347)
 
 
อิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) กล่าวถึงนัยของหะดีษบทนี้ว่า ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตอบว่า กลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) คือบุคคลที่มีคุณลักษณะด้วยบรรดาคุณลักษณะของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคุณลักษณะของเหล่าเศาะหาบะฮฺของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) สิ่งดังกล่าวเป็นที่รับรู้ในหมู่พวกเขาโดยไม่มีสิ่งใดซ่อนเร้น..
 
 
โดยสรุปก็คือ บรรดาเศาะหาบะฮฺคือบรรดาผู้ดำเนินตามท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้รับทางนำด้วยทางนำของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) มีการสรรเสริญชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺในอัล-กุรอาน และท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ก็ชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺ และอันที่จริงมารยาทของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ อัล-กุรอาน ดังนั้นอัล-กุรอานคือสิ่งที่ถูกปฏิบัติตามโดยข้อเท็จจริง และ สุนนะฮฺก็มาอธิบายอัล-กุรอาน ผู้ที่ตามสุนนะฮฺก็คือผู้ที่ตามอัล-กุรอาน และบรรดาเศาะหาบะฮฺ คือกลุ่มชนที่สมควรที่สุดด้วยสิ่งนั้น ดังนั้นทุกคนที่ดำเนินตามเหล่าเศาะหาบะฮฺก็คือผู้หนึ่งจากกลุ่มที่รอดพ้น..” (อัล-อิอฺติศอม 2/252)
 
 
ในบางส่วนของหะดีษเรื่องนี้ระบุว่า กลุ่มชนที่รอดพ้นคือ อัล-ญะมาอะฮฺ ซึ่งอิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า มีทัศนะ 5 ทัศนะที่อธิบายคำว่า อัล-ญะมาอะฮฺคือ
 
1.มหาชนจากชาวอิสลาม
 
2.กลุ่มของบรรดาอิมามมุจญ์ตะฮิด
 
3.เศาะหาบะฮฺโดยเฉพาะ
 
4.กลุ่มชาวอิสลามที่ตรงกันข้ามกลุ่มลัทธิและศาสนาอื่น
 
5.กลุ่มประชาคมมุสลิมที่รวมตัวกันตามผู้นำ (อิมาม) ที่ปฏิบัติสอดคล้องกับคัมภีร์อัล-กุรอานและสุนนะฮฺ (อัล-อิอฺติศอม 2/260 โดยสรุป)
 
 
บรรดาทัศนะเหล่านี้มิอาจจำกัดว่าเป็นชนกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดโดยเฉพาะ เพราะอัล-ญะมาอะฮฺมิใช่จำนวนของผู้คนที่ถูกจำกัดเอาไว้ แต่เป็นองค์รวมของคุณลักษณะที่ผู้ใดมีคุณลักษณะดังกล่าวก็ถือว่าผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากประชาคมมุสลิม (เราะสาอิล อัล-อิคออฺ ; นาดิรฺ อัน-นูรียฺ หน้า 50)
 
 
อิมามอัน-นะวาวียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : อนุญาตในการที่กลุ่มชนซึ่งได้รับการช่วยเหลือจะเป็นกลุ่มชนที่หลากหลายจากชนิดต่างๆ ของผู้ศรัทธา ซึ่งมีทั้งผู้กล้าหาญ และผู้ที่มีความรอบรู้ในการทำสงคราม นักวิชาการฟิกฮฺ นักหะดีษ นักตัฟสีรฺ ผู้ที่ดำรงตนด้วยการสั่งใช้ให้กระทำความดีและห้ามปรามจากความชั่ว ผู้มีความสมถะและนักทำอิบาดะฮฺ ไม่จำเป็นว่าพวกเขาต้องรวมตัวกันอยู่ในดินแดนเดียว แต่เป็นไปได้ในการพวกเขาจะรวมตัวอยู่ในดินแดนเดียวหรือกระจายกันอยู่ในดินแดนต่างๆ ของโลก เป็นไปได้ที่พวกเขาจะรวมตัวอยู่ในเมืองๆ เดียว โดยอยู่ในบางส่วนของเมืองโดยที่บางส่วนของเมืองไม่มีพวกเขาอยู่ และเป็นไปได้ว่าโลกจะปลอดจากบางส่วนของกลุ่มชนนี้เป็นลำดับจวบจนกระทั่งไม่เหลืออยู่นอกจากกลุ่มชนเดียวในดินแดนเดียว เมื่อพวกเขาไม่เหลืออยู่อีก ลิขิตของอัลลอฮฺก็มาถึง...” (ฟัตหุลบารียฺ 13/295)
 
 
ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส กล่าวว่า : “ชนกลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) ซึ่งท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) บอกเอาไว้คือกลุ่มชนที่ยึดมั่นในศาสนาอิสลามซึ่งถูกประมวลไว้ในกิตาบุลลอฮฺและสุนนะฮฺของท่านรสูล (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตลอดจนอิจญ์มาอฺของเหล่าเศาะหาบะฮฺและสิ่งที่แตกแขนงเป็นข้อปลีกย่อมมาจากสิ่งดังกล่าว และกลุ่มที่รอดพ้นนี้ คืออะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺ
 
 
ดังนั้นผู้ใดจากชาวมุสลิมที่เสียชีวิตบนการให้เอกภาพ (เตาหีด) ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นพวกอิควาน อัล-มุสลิมีน หรือกลุ่มอัต-ตับลีฆหรือกลุ่มศูฟียฺหรืออลุ่มอัส-สะละฟียฺ หรือพรรคอิสลามเพื่อการปลดแอกหรืออื่นจากพวกเขา ทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มคณะบุคคล ผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากกลุ่มชนที่รอดพ้น...” (ฟะตาวา ชัรฺอียะฮฺ ; ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส เล่มที่ 2 หน้า 857-858)
 
== สำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ซุนนี"