ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากงกัณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ช่วงแรก: เคาะวรรค
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ปัญหา: เคาะวรรค
บรรทัด 149:
 
ภาษากอนกานีเป็นภาษาที่ใกล้ตายเพราะ
* การแตกแยกเป็นส่วนๆส่วน ๆ ของภาษากอนกานี ทำให้ไม่มีสำเนียงกลางที่เข้าใจระหว่างกันได้
* การแพร่หลายของวัฒนธรรมตะวันตกในอินเดีย
* ชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูในกัวและบริเวณชายฝั่งของรัฐมหาราษฏระ ส่วนใหญ่ใช้ภาษามราฐีได้ด้วย
บรรทัด 156:
* การอพยพของชาวกอนกานีไปยังบริเวณอื่นๆของอินเดียและทั่วโลก
* การขาดโอกาสที่จะเรียนภาษากอนกานีในโรงเรียน มีโรงเรียนที่สอนภาษากอนกานีไม่กี่แห่งในกัว ประชาชนที่อยู่นอกเขตที่ใช้ภาษากอนกานีไม่มีโอกาสได้เรียนภาษากอนกานีแม้ตะในแบบไม่เป็นทางการ
* ความนิยมของประชาชนที่นิยมพูดกับเด็กๆเด็ก ๆ ด้วยภาษาที่ใช้ทำมาหากิน ไม่ใช่ภาษาแม่ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ภาษาอังกฤษของเด็กดีขึ้น
มีความพยายามที่จะฟื้นฟูภาษากอนกานีโดยเฉพาะความพยายามของเศนอย โคเอมพับ ที่พยายามสร้างความสนใจวรรณกรรมภาษากอนกานีขึ้นอีกครั้ง มีองค์ที่สนับสนุนการใช้ภาษากอนกานี เช่น กอนกาน ไทซ ยตระ ที่บริหารโดยมันเดล และองค์กรที่ใหม่กว่าอย่างเช่น วิศวะ กอนกานี ปาริศัด
=== การใช้หลายภาษา ===