ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอปราสาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 153:
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของอำเภอปราสาทอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี การกระจายความเจริญอยู่ในระดับปานกลาง สภาพคล่องทางเศรษฐกิจและเงินหมุนเวียนในระบบตลาด/วัน อยู่ในลำดับที่ 2
ของจังหวัดสุรินทร์ (รองจากอำเภอเมืองสุรินทร์) การเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมในปี 2552-2557 มีมูลค่าการลงทุนสะสมสูงเป็นอันดับ 1 ของจังหวัด ที่ 6 พันล้านบาท
(อ้างอิง:http://www.industry.go.th/ops/pio/surin) (http://www.surin.go.th/surin/14_3.htm)<ref>http://www.industry.go.th/ops/pio/surin/Lists/annuity/Attachments/139/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%20%E0%B8%81.%E0%B8%A2.2554.pdf</ref> สาเหตุที่ทำให้อำเภอปราสาทมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี เนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้วางยุธศาสตร์ให้จังหวัดสุรินทร์เป็นหนึ่งในประตู่สู่อินโดจีนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกของอาเซียน อำเภอปราสาทมีที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเส้นทางการขนส่งที่มีถนนสายสำคัญผ่านสองสายคือ ทางหลวงหมายเลข 24 (โชคชัย[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24|สีคิ้ว-เดชอุดม]]) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากอำเภอโชคชัย จังหวัดนครรราชสีมา ผ่านเข้าสู่จังหวัดบุรีรัมย์ เข้าจังหวัดสุรินทร์ที่อำเภอปราสาท ผ่าน[[อำเภอสังขะ]] เข้าสู่[[จังหวัดศรีสะเกษ]] และไปสิ้นสุดที่อำเภอเดชอุดม [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ซึ่งสามารถออกสู่ประตูอินโดจีนที่ด่านช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานีได้ และ ถนนสายสำคัญอีกเส้นหนึ่ง คือ ทางหลวงหมายเลข 214 มีจุดเริ่มต้นจากเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ผ่านจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดมหาสารคราม เข้าสู่จังหวัดสุรินทร์ที่อำเภอท่าตูม ผ่านอำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอปราสาท เข้าสู่อำเภอกาบเชิง และสิ้นสุดที่ประตูอินโดจีน ช่องจอม ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับถนนหมายเลข 68 ของกัมพูชาที่ทางรัฐบาลไทยให้เงินช่วยเหลือในการพัฒนาเส้นทาง จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นทำให้อำเภอปราสาทอยู่ในฐานะที่เป็นดินแดนเชื่อมโยงของจังหวัดและของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลการลงทุนในอำเภอปราสาทขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีบางปีที่เกิดสภาวะถดถอยบ้าง จากสภาวะเศรษฐกิจโลกและความไม่มั่นคงทางการเมืองของประเทศ
อย่างไรก็ดี ยุทธศาสตร์ที่ตั้งของอำเภอปราสาทยังคงเสียเปรียบอำเภอประโคนชัยและอำเภอนางรองของจังหวัดบุรีรัมย์ ได้เนื่องจากอำเภอดังกล่าวมีที่ตั้งที่สามารถเชื่อมต่อสู่ภาคตะวันออกได้