ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเครียด (กลศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Naecheewa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Naecheewa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
ถ้าความยาวของวัตถุเพิ่มขึ้น ความเครียดเฉือนตั้งฉากจะเรียกว่า ''ความเครียดดึง'' (tensile strain) ในทางกลับกันถ้าความยาวลดลง เราจะเรียกว่า ''ความเครียดอัด'' (compressive strain)
 
นอกเหนือจากนิยามที่กล่าวมายังมีการนิยามความเครียดหลายแบบ อาทิเช่น ''ความเครียดทางวิศวกรรม'' (engineering strain)ซึ่งมักจะใช้กับวัสดุที่ใช้ในเคลื่องกลและโครงสร้างทางวิศวกรรมซึ่งจะเปลี่ยนรูปร่างได้เพียงเล็กน้อย ในขณะที่วัสดุบางประเภท อาทิ อีลาสโตเมอร์และพอลิเมอร์สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้เยอะ การใช้นิยามความเครียดทางวิศวกรรมนั้นอาจจะไม่เหมาะสมเมื่อวัตถุขยายขนาดมากกว่า 1% <ref>{{Cite book|lastname=Rees|first=David|title=Basic"rees" Engineering Plasticity: An Introduction with Engineering and Manufacturing Applications|publisher=Butterworth-Heinemann|year=2006|page=41|url=https://books.google.com/books?id=4KWbmn_1hcYC|isbn=0-7506-8025-3|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171222205706/https://books.google.com/books?id=4KWbmn_1hcYC|archivedate=2017-12-22|df=}}</ref> จึงต้องใช้นิยามแบบอื่น เช่น อัตราส่วนการยืด หรือ ความเครียดจริง
 
=== ความเครียดทางวิศวกรรม ===