ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน 4 การแก้ไขของ 171.4.115.214 (พูดคุย): (สาเหตุ : การแก้ไขที่ส่อไปในทางไม่สร้างสรรค์).ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้สิ้นสุดลงแล้วเมื่อมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 25622560]]
 
== เนื้อหา ==
บรรทัด 11:
 
=== มาตรา 44 ===
"ในกรณีที่หัวหน้า[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติเห็นเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ การส่งเสริมความสามัคคีและความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ หรือเพื่อป้องกัน ระงับ หรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของชาติ ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจของประเทศ หรือราชการแผ่นดิน ไม่ว่าจะเกิดขึ้นภายในหรือภายนอกราชอาณาจักร ให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจสั่งการระงับยับยั้ง หรือกระทำการใด ๆ ได้ ไม่ว่าการกระทำนั้นจะมีผลบังคับในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำ รวมทั้งการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว เป็นคำสั่งหรือการกระทำ หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด ทั้งนี้ เมื่อได้ดำเนินการดังกล่าวแล้ว ให้รายงานประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีทราบโดยเร็ว"
 
การใช้อำนาจตามมาตรานี้ยังปรากฏภายหลังจากที่ราชอาณาจักรไทยประเทศใช้ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 25622560]] ในการออกคำสั่งหัวหน้า [[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทยชาติ]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/176/18.PDF</ref>เนื่องจาก มาตรา 265 บัญญัติว่า ให้[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้ รัฐธรรมนูญนี้ ยังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลัง การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่
 
ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้หัวหน้า[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติและ[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติยังคงมีหน้าที่และอำนาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2559 และให้ถือว่าบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจของหัวหน้า[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติ และ[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไป ให้นำความในมาตรา 263 วรรคเจ็ด มาใช้บังคับแก่การสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของผู้ดำรงตำแหน่ง[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์ในคณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติด้วยโดยอนุโลม
 
 
บรรทัด 26:
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและยิ่งเสริมอำนาจของทหาร โดยมาตรา 48 ซึ่ง[[นิรโทษกรรม (กฎหมายอาญา)|นิรโทษกรรม]]ความผิดของทหารทั้งในอดีตและอนาคต และให้สิทธิคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการออกคำสั่งใดๆ เพื่อการปฏิรูปหรือความมั่นคง และคำสั่งเหล่านั้นถือว่าชอบด้วยกฎหมาย<ref name = "abcnews">{{cite web | title = Thai military announces new constitution | url = http://www.abc.net.au/news/2014-07-26/thai-military-announces-new-constitution/5626806 | publisher = ACB News | date = 2014-07-27 | accessdate = 2014-07-27 | author = Elizabeth Jackson }}</ref>
 
มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้า[[:s:พรรคคอมมิวนิสต์คณะรักษาความสงบแห่งประเทศไทย]]ชาติเหนืออำนาจของฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการซึ่งคล้ายคลึงกับ[[ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502]] มาตรา 17 ที่จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เป็นผู้ร่าง ทำให้ผู้เผด็จการสั่งการฆ่าคนนอกกระบวนการยุติธรรมได้ โดยจอมพลสฤษดิ์ สั่งประหารชีวิตบุคคลจำนวนมากที่ถูกกล่าวหาความผิดอาญาโดยไม่มีการไต่สวนในศาลอย่างเหมาะสม อาชญากรรมที่ถูกกล่าวหานั้นมีตั้งแต่วางเพลิง เป็น[[คอมมิวนิสต์]] ประกาศตนเป็นนักบุญซึ่งจอมพลสฤษดิ์ เห็นว่าเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลังก์<ref>{{cite book | author = Noranit Setabutr | location = Bangkok | language = | publisher = Thammasat University Press | title = รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย | trans_title = | year = 2007 | isbn = 9789745719996 | format = pdf | url = http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/303018/51054.pdf?sequence=1 | page = 173–176 }}</ref> นักการเมืองจากพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์แสดงความกังวลต่อมาตรานี้ และขอให้ พคทคสช. ใช้อำนาจในมาตรานี้ตามความจำเป็น<ref>[http://www.thairath.co.th/content/438402 'นิพิฏฐ์' ห่วง ม.44 รอดู พคทคสช.ใช้อำนาจ], ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557</ref><ref>[http://www.thairath.co.th/content/438443 'จาตุรนต์'แนะ พคืคสช.ใช้อำนาจ ตามจำเป็น], ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557</ref><ref>[http://www.thairath.co.th/content/438393 'มาร์ค' ขอพคทคสช. ขยายความอำนาจพิเศษ ม.44 ให้ชัด], ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557</ref>
 
== ปฏิกิริยา ==
บรรทัด 36:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิซอร์ซ|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๖๒๒๕๕๗}}
* [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/055/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗]., เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๕ ก , ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑-๑๗
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #E9E9E9
| สี2 =
| สี3 = #E9E9E9
| รูปภาพ =
| ตำแหน่ง = รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]]<br/><small> (24 สิงหาคม 2550 - 6 เมษายน 2560) </small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]]<br/><small> (6 เมษายน 2560 - ปัจจุบัน) </small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 - 6 เมษายน พ.ศ. 2560
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย}}
 
[[หมวดหมู่:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]
[[หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2557]]
[[หมวดหมู่:รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]]
{{โครงกฎหมาย}}