ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรหมจรรย์ (แนวคิดทางศาสนา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
แนวคิดพรหมจรรย์นั้นไม่ได้หมายถึง "[[การอยู่เป็นโสด]]" (celibacy) พรหมจรรย์ในศาสนาแบบอินเดียไม่ได้หมายถึงการถือ[[สภาพพรหมจารี]]และการเว้นจากกิจกรรมทางเพศเสมอไป แต่มุ่งเน้นไปที่การควบคุม[[จิต (ศาสนาพุทธ)|จิตตะ]] ไม่ให้มีอารมณ์ต่าง ๆ เพื่อเข้าถึง "พรหมญาณ"
 
ในแนวคิด[[อาศรมสี่]]ของศาสนาฮินดู "พรหมจรรย์" เป็นหนึ่งในสี่ขั้นของชีวิตซึ่งตามด้วย [[คฤหัสถ์ (ศาสนาฮินดู)|คฤหัสถ์]], [[วณปรัสถ์]] และ [[สัญญาสี]] "พรหมจรรย์" ในอาศรมสี่ หมายถึงวัยเด็กไปจนถึงอายุราว 25 ปี ให้หมั่นเพียรศึกษาเบ่าเรียนและให้ประพฤติตนอยู่ใน[[การอยู่เป็นโสด|การไม่มีคู่ครอง]]<ref name=rks>RK Sharma (1999), Indian Society, Institutions and Change, {{ISBN|978-8171566655}}, page 28</ref><ref>[[Georg Feuerstein]], ''The Encyclopedia of Yoga and Tantra'', Shambhala Publications, {{ISBN|978-1590308790}}, 2011, pg 76, Quote – "Brahmacharya essentially stands for the ideal of chastity"</ref><ref>W.J. Johnson (2009), "The chaste and celibate state of a student of the ''Veda''", Oxford Dictionary of Hinduism, Oxford University Press, {{ISBN|978-2713223273}}, pg 62</ref>
 
== อ้างอิง ==