ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซีเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8197345 สร้างโดย BonTheFox13 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เฟลนส์บูร์ก" → "เฟล็นส์บวร์ค" +แทนที่ "เฟลนซบูร์ก" → "เฟล็นส์บวร์ค" +แทนที่ "ลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์" → "ลุทซ์ กราฟ ชเวรีน ฟ็อน โครซิค" +แทนที่ "ฮิมม์เลอร์" → "ฮิมเลอร์" +แทนที่ "แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง" → "แฮร์มัน เกอริง" +แทนที่ "ชเวริน ฟอน โครซิกค" → "ชเวรีน ฟ็อน โครซิค" +แทนที่ "บูร์ก" → "บวร์ค" +แทนที่ "พอตสดัม" → "พ็อทซ์ดัม" +แทนที่ "ไรน์ลันด์" → "ไรน์ลันท์" +แทนที่ "บรันเดนบวร์ค" → "บรันเดินบวร์ค" +แทนที่ "โพเมอราเนีย" → "พอเมอเรเนีย" +แทนที่ "มาร์ทิน" → "มา...
บรรทัด 77:
| deputy2 = [[โยเซฟ เกิบเบิลส์]]
| year_deputy2 = 1945
| deputy3 = [[ลุทซ์ กรัฟกราฟ ชเวรินชเวรีน ฟอนฟ็อน โครซิจค์รซิค]]
| year_deputy3 = 1945
| stat_area1 = 470083
บรรทัด 131:
ชื่ออย่างเป็นทางการของรัฐ คือ ดอยท์เชิสไรช์ ("ไรช์เยอรมัน") ตั้งแต่ปี 1933 ถึง 1943 และโกรสดอยท์เชิสไรช์ ("ไรช์มหาเยอรมัน") ตั้งแต่ปี 1943 ถึง 1945 ในภาษาอังกฤษมักแปลคำว่าดอยท์เชิสไรช์เป็นจักรวรรดิเยอรมัน<ref name="van Wie 1999">{{cite book|last=van Wie|first=Paul D.|title=Image, History and Politics: The Coinage of Modern Europe| year = 1999| publisher = University Press of America "|location = Lanham, Md|isbn = 978-0-7618-1221-0 | page=37 }}</ref> ซึ่งคำว่า "ไรช์" นี้มีความหมายว่า "แผ่นดิน" อันหมายถึงอาณาจักรของ[[ไกเซอร์]]
 
ส่วนคำว่า "ไรช์ที่สาม" นั้น พวกนาซีรับมา ใช้ครั้งแรกในนวนิยายเมื่อปี 1923 โดยอาร์ทูร์ทัวร์ เมิลเลอร์ ฟัน เดน บรุค<ref name="TR-N-01">{{cite book|last=|first=|url=http://www.amazon.com/Man-Who-Invented-Third-Reich/dp/0750918667|authorlink=Stan Lauryssens|title=The man who invented the Third Reich: the life and times of Arthur Moeller van den Bruck|year=May 1, 1999|publisher=Npi Media Ltd|location=|isbn=978-0-75-091866-4|pages=}}</ref> ซึ่งนับ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในสมัยกลาง (962–1806) เป็นไรช์ที่หนึ่ง และ[[จักรวรรดิเยอรมัน]] (ค.ศ. 1871–1918) เป็นไรช์ที่สอง ปัจจุบันชาวเยอรมันเรียกสมัยนี้ว่า ไซท์เดสนาซิโยนนัลโซซีอัลอิสมุส หรือย่อเป็น เอ็นเอส-ไซท์ ("สมัยชาติสังคมนิยม") หรือ นาซิโยนนัลโซซีอัลอิสทิสเชอ เกวัลแทร์ชัฟท์ ("ทรราชชาติสังคมนิยม")
 
== ประวัติศาสตร์ ==
บรรทัด 172:
เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ 1933 ฮิตเลอร์ประกาศว่าจะต้องสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ โดยทีแรกกระทำในทางลับ เนื่องจากการดังกล่าวเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ปีต่อมาเขาบอกผู้นำทหารว่าปี 1942 เป็นวันที่เป้าหมายสำหรับการเข้าสู่สงครามในทางตะวันออก{{sfn|Evans|2005|pp=338–339}} เขาพาประเทศเยอรมนีออกจาก[[สันนิบาตชาติ]]ในปี 1933 โดยอ้างว่า ข้อกำหนดการลดกำลังรบขององค์การฯ ไม่ยุติธรรม เนื่องจากมีผลบังคับต่อเฉพาะประเทศเยอรมนี{{sfn|Evans|2005|p=618}} ซาร์ลันด์ซึ่งถูกกำหนดภายใต้การควบคุมดูแลของสันนิบาตชาติเป็นเวลา 15 ปีหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุด ออกเสียงลงคะแนนในเดือนมกราคม 1935 เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนี{{sfn|Evans|2005|p=623}} ในเดือนมีนาคม 1935 ฮิตเลอร์ประกาศว่าไรช์สเวร์จะเพิ่มกำลังเป็น 550,000 นายและเขาจะตั้งกองทัพอากาศ{{sfn|Kitchen|2006|p=271}} บริเตนเห็นชอบว่าชาวเยอรมนีควรได้รับอนุญาตให้สร้างกองทัพเรือโดยการลงนามความตกลงนาวีอังกฤษ-เยอรมันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 1935{{sfn|Evans|2005|p=629}}
 
เมื่อการบุกครองเอธิโอเปียของอิตาลีนำสู่การประท้วงเพียงเล็กน้อยจากรัฐบาลบริเตนและฝรั่งเศส วันที่ 7 มีนาคม 1936 ฮิตเลอร์ใช้สนธิสัญญาความช่วยเหลือกันฝรั่งเศส-โซเวียตเป็นข้ออ้างในการสั่งกองทัพบกให้เคลื่อนกำลัง 3,000 นายเข้าสู่เขตปลอดทหารใน[[ไรน์ลันด์ไรน์ลันท์]]เป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย{{sfn|Evans|2005|pp=633}} เนื่องจากดินแดนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนี รัฐบาลบริเตนและฝรั่งเศสจึงไม่รู้สึกว่าการพยายามบังคับใช้สนธิสัญญาฯ จะคุ้มความเสี่ยงสงคราม{{sfn|Evans|2005|pp=632–637}} ในการเลือกตั้งพรรคเดียวซึ่งจัดในวันที่ 29 มีนาคม พรรคนาซีได้รับการสนับสนุนร้อยละ 98.9{{sfn|Evans|2005|pp=632–637}} ในปี 1936 ฮิตเลอร์ลงนาม[[กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น]]กับประเทศญี่ปุ่น และความตกลงไม่รุกรานกับนายกรัฐมนตรี[[เบนิโต มุสโสลินี]]แห่งฟาสซิสต์อิตาลี ซึ่งไม่นานเรียกว่า "อักษะโรม-เบอร์ลิน"{{sfn|Evans|2005|p=641}}
 
ฮิตเลอร์ส่งหน่วยอากาศและยานเกราะสนับสนุนพลเอก [[ฟรานซิสโก ฟรังโก]] และกำลังชาตินิยมใน[[สงครามกลางเมืองสเปน]]ซึ่งปะทุในเดือนกรกฎาคม 1936 สหภาพโซเวียตส่งกำลังที่เล็กกว่าเข้าช่วยรัฐบาลสาธารณรัฐนิยม ฝ่ายชาตินิยมของฟรังโกชนะในปี 1939 และกลายเป็นพันธมิตรอย่างไม่เป็นทางการของนาซีเยอรมนี{{sfn|Steiner|2011|pp=181–251}}
บรรทัด 202:
เดอนิตช์พยายามที่จะติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขอยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข<ref>William Shirer. ''The Rise and Fall of the Third Reich''. Fawcett Crest. New York. 1983. ISBN 0-449-21977-1</ref> เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 1945 ได้มีการยอมจำนนอย่างเป็นทางการ<ref>Donnelly, Mark. ''Britain in the Second World War'', pg. xiv</ref> ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดการคงอยู่ของนาซีเยอรมนี<ref>''"...also based on the fact that after the debellatio of Germany, the Allied powers have been the local sovereigns in Germany.".'' United Nations War Crimes Commission. [http://books.google.co.uk/books?id=Z-xlVF_5Hu8C&pg=PA13&dq=debellatio+allies+germany&sig=ACfU3U0E77AgKBDsfN3L4u4_0OjN_qwZhw#v=onepage&q=debellatio&f=false Law reports of trials of war criminals]. William S. Hein & Co., Inc. p. 14</ref>
 
ในเดือนสิงหาคม ได้มีการจัด[[การประชุมพอตสดัมพ็อทซ์ดัม]]ระหว่างผู้นำมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อกำหนดข้อตกลงและแนวทางสำหรับอนาคตของเยอรมนี รวมทั้งเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของเยอรมนีอีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่สอง อันเป็นช่วงเวลาเดียวกับ[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก|การพิจารณาคดีอาชญากรสงคราม]]ผู้นำและนายทหารระดับสูงของนาซีที่[[เนือร์นแบร์ก]]<ref>Richard Overy. [http://www.bbc.co.uk/history/worldwars/wwtwo/nuremberg_article_01.shtml World Wars in-depth Nuremberg: Nazis On Trial]. ''[[BBC]]''. สืบค้นเมื่อ 07-02-2010.</ref> จำเลยทั้งหมดถูกพิจารณาคดีเกี่ยวกับข้อกล่าวหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ซึ่งมีจำนวนหนึ่งที่ถูกตัดสินประหารชีวิตและบางส่วนถูกตัดสินจำคุก
 
การแบ่งแยกปกครองเยอรมนีเริ่มต้นขึ้นภายใต้การจัดตั้ง[[สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร]] และแบ่งเยอรมนีและกรุงเบอร์ลินออกเป็น 4 ส่วน ให้อยู่ในการควบคุมของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต โดยส่วนที่ปกครองโดยสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส รวมตัวกันเป็น[[เยอรมนีตะวันตก]] และส่วนที่สหภาพโซเวียตปกครองกลายมาเป็น[[เยอรมนีตะวันออก]] เยอรมนีทั้งสองเป็นสนามรบของ[[สงครามเย็น]]ในทวีปยุโรป ก่อนที่จะมีการรวมประเทศอีกครั้งในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20
บรรทัด 209:
เยอรมนีตั้งอยู่ในเขตที่ราบต่ำตอนกลางทวีปยุโรป<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 293.</ref> มีลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนอยู่สามแห่ง ได้แก่ เขตที่ราบต่ำตอนเหนือ เขตภูเขาตอนกลาง และเขตที่ราบสูงและลุ่มแม่น้ำทางใต้ ดินทางตอนเหนือนั้นมีคุณค่าทางเศรษฐกิจมาก และมีป่าสนกินอาณาเขตกว้างขวางตามตีนเขาของเทือกเขาที่ลากผ่านตอนกลางของประเทศ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 118-119.</ref>
 
ด้านการคมนาคม ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เยอรมนีมีทางน้ำในประเทศความยาวรวมกว่า 7,000 ไมล์ ซึ่งในจำนวนนี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจถึง 4,830 ไมล์<ref name="Geo122">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 122.</ref> มีเมืองท่าที่สำคัญ คือ ดืสบูร์กดืสบวร์ค-รูรอร์ท [[ฮัมบูร์กบวร์ค]] และเบอร์ลิน<ref name="Geo122"/> เช่นเดียวกับ[[คลองคีล]] ซึ่งมีสินค้าผ่านคลองกว่า 9.4 ล้านตันต่อปี ในปี 1936<ref name="Geo123">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 123.</ref> นอกจากนั้น เยอรมนียังมีทางรถไฟยาวกว่า 43,000 ไมล์<ref name="Geo123"/>; ในปี 1937 เยอรมนีมีโครงข่ายถนนยาว 134,000 ไมล์ และทางหลวงพิเศษ (เอาโทบาน) ยาว 3,150 ไมล์ ในปี 1939<ref name="Geo125">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 125.</ref>
 
[[เกษตรกรรม]]ในประเทศประสบความสำเร็จอย่างมาก และสามารถปลูกพืชได้หลายชนิด ในปี 1936 ราว 61% ของพื้นที่ทั้งประเทศเป็นพื้นที่เพาะปลูก<ref name="Geo126">M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126.</ref> โดยพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ [[ข้าวไรย์]] มันฝรั่ง ชูการ์บีต และไม้องุ่น<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 126-127.</ref> มีทรัพยากรแร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ [[ถ่านหิน]] ปิโตรเลียม<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 130.</ref> ทองแดง สังกะสี และดีเกลือ<ref>M. Ali Khan, A.Sherieff, A.Balakishan. pp. 132-133.</ref>
บรรทัด 227:
=== การเปลี่ยนแปลงหลังสงคราม ===
[[ไฟล์:Germanborders.svg|thumb|300px|ดินแดนที่เยอรมนีสูญเสียไปหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง]]
พรมแดนโดยพฤตินัยของนาซีเยอรมนีเปลี่ยนแปลงมานานก่อนการล่มสลายในเดือนพฤษภาคม 1945 เพราะกองทัพแดงคืบหน้ามาทางตะวันออก พร้อมกับที่ประชากรเยอรมันหลบหนีมายังแผ่นดินเยอรมนี และสัมพันธมิตรตะวันตกรุกคืบมาทางตะวันออกจากฝรั่งเศส เมื่อสงครามยุติ มีเพียงผืนดินเล็ก ๆ จากออสเตรียถึงโบฮีเมียและโมราเวีย และภูมิภาคที่ถูกโดดเดี่ยวอื่น ๆ เท่านั้นที่ยังไม่ถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครอง ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาสถาปนาเขตยึดครอง ดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซ (อันประกอบด้วย [[ปรัสเซียตะวันออก]] [[ไซลีเซีย]] [[ปรัสเซียตะวันตก]] ราวสองในสามของ[[แคว้นโพพอเมอราเนียอเรเนีย]] และบางส่วนของ[[บรันเดนบูร์กบรันเดินบวร์ค]]) และสเทททิน และบริเวณโดยรอบ (เกือบ 25% ของดินแดนเยอรมนีก่อนสงครามเมื่อปี 1937) อยู่ภายใต้การปกครองของโปแลนด์และโซเวียต โดยแบ่งให้โปแลนด์และโซเวียตผนวก นอกจากนี้ ฝรั่งเศสยังได้ยึดครองดินแดนส่วนใหญ่ของ[[แคว้นซาร์]] ซึ่งเป็นแหล่งอุตสาหกรรมถ่านหินที่สำคัญของเยอรมนีที่เหลืออีกด้วย ดินแดนส่วนใหญ่ที่เยอรมนีเสียไปนี้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ยกเว้น [[อัปเปอร์ไซลีเซีย]] ซึ่งเป็นศูนย์อุตสาหกรรมหนักที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของเยอรมนี ฝ่ายสัมพันธมิตรขับไล่ผู้อยู่อาศัยชาวเยอรมัน ในปี 1947 สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเลิกปรัสเซียด้วยกฎหมาย ที่ 46 (20 พฤษภาคม 1947) ตามการประชุมพอทสดัม ดินแดนปรัสเซียทางตะวันออกของแนวโอเดอร์-นีซเซถูกแบ่งแยกและปกครองโดยโปแลนด์และ[[มณฑลคาลินินกราด]] ตามสนธิสัญญาสันิภาพขั้นสุดท้าย ภายหลัง โดยการลงนาม[[สนธิสัญญากรุงวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1970) และ[[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]] (ค.ศ. 1990) เยอรมนีสละการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนที่เสียไประหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
 
การเปลี่ยนแปลงดินแดนดังกล่าวส่งผลกระทบให้ชาวเยอรมันราว 14 ล้านคน<ref name="expelled">de Zayas, Alfred-Maurice: ''A Terrible Revenge: The Ethnic Cleansing of the Eastern European Germans 1944-1950'', New York: St. Martin's Press, 1994</ref> ถูกขับออกจากดินแดนซึ่งอยู่นอกพรมแดนประเทศเยอรมนีใหม่ มีผู้เสียชีวิตระหว่างเหตุการณ์นี้ประมาณ 1-2 ล้านคน<ref name="expelled"/> เช่นเดียวกับเมืองใหญ่น้อยทั้งหลาย เช่น [[สเทททิน]], [[เคอนิกซเบิร์ก]], [[เบรสเลา]], [[เอลบิง]] และ[[ดันท์ซิช]] ที่ได้ขับชาวเยอรมันออกจากเมืองเช่นกัน
บรรทัด 236:
=== การแบ่งเขตการปกครองในไรช์ ===
[[ไฟล์:NS administrative Gliederung 1944.png|thumb|250px|การแบ่งเขตการปกครองในไรช์มหาเยอรมัน ค.ศ. 1944]]
เพื่อให้การควบคุมเยอรมนีของอดอล์ฟ ของฮิตเลอร์ เป็นไปโดยรัดกุมยิ่งขึ้น ในปี 1935 ระบอบนาซีแทนที่การปกครองลันแลนเดอร์ ({{lang-de|länder}}) ด้วย "[[เกา]]" ({{lang-de|gau}}) ซึ่งนำโดยผู้ว่าการที่ตอบสนองต่อรัฐบาลกลางในกรุงเบอร์ลิน การจัดระเบียบใหม่นี้ทำให้[[ปรัสเซีย]]อ่อนแอลงในทางการเมือง ซึ่งในอดีตปรัสเซียเคยครอบงำการเมืองเยอรมนี เริ่มแรกนั้น เยอรมนีแบ่งออกเป็น 32 เกา และระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีสามารถยึดครองดินแดนอื่นได้<ref>[http://www.historisches-lexikon-bayerns.de/artikel/artikel_44497 Gau (NSDAP) - Kontinuität der Gaugliederung nach 1933] Historisches Lexikon Bayerns</ref> จึงได้จัดระเบียบการปกครองขึ้นใหม่ เรียกว่า "[[ไรซ์เกา]]" ({{lang-de|reichsgau}}) กระทั่งปี 1945 นาซีเยอรมนีมีเขตการปกครองรวมทั้งสิ้น 42 เกา<ref>[http://www.nizkor.org/hweb/imt/nca/nca-01/nca-01-06-organization.html The Organization of the Nazi Party & State] ''The Nizkor Project''</ref>
 
=== โครงสร้างรัฐบาลไรช์ ===
บรรทัด 248:
* '''คณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร'''
** [[คณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์]]
** [[คณะรัฐมนตรีชเวรินชเวรีน ฟอนฟ็อน โครซิกครซิค]]
* '''สำนักงานแห่งชาติ'''
** ทำเนียบฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรี ([[ฟีลิพ โบอูแลร์]])
** สำนักงานที่ทำการพรรค ([[มาร์ทินมาร์ทีน บอร์มันน์บอร์มัน]])
** สำนักทำเนียบประธานาธิบดี ([[ออทโท ไมส์ซแนร์]])
** สำนัก[[ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์]] ([[ฮันส์ ลัมแมร์ส]])
** สภาคณะรัฐมนตรีลับ ([[คอนชตันทินค็อนสตันทีน ฟอนฟ็อน นอยรัทน็อยราท]])
* '''กระทรวงไรช์'''
** กระทรวงมหาดไทยไรช์ ([[วิลเฮล์ม ฟริค]], [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์]])
** กระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อไรช์ ([[โยเซฟ เกิบเบิลส์]])
** กระทรวงการบินไรช์ ([[แฮร์มันน์ วิลเฮล์มแฮร์มัน เกอริง]])
** กระทรวงการคลัง ([[ลุทซ์ กรัฟกราฟ ชเวรินชเวรีน ฟอนฟ็อน โครซิจค์รซิค]])
** กระทรวงยุติธรรมไรช์ ([[ฟรันซ์ เกือร์ทแนร์]], [[ออทโท ไทรัค]])
** กระทรวงเศรษฐกิจไรช์ ([[อัลเฟรด ฮูเกนแบร์ก]], [[คุร์ท ชมิทท์]], [[ฮยัลมาร์ ชัคท์]], แฮร์มันน์ เกอริง, [[วัลเทอร์ ฟังค์]])
บรรทัด 268:
** กระทรวงการคมนาคมไรช์ ([[ยูลีอุส ดอร์พมึลเลอร์]])
** กระทรวงไปรษณีย์ไรช์ ([[วิลเฮล์ม โอเนซอร์เกอ]])
** กระทรวงอาวุธ ยุทโธปกรณ์ และอาวุธยุทธภัณฑ์ ([[ฟริทซ์ ท็อดท์]], [[อัลแบร์ท ชเปียร์ชแปร์]])
** กระทรวงดินแดนตะวันออกที่ถูกยึดครอง ([[อัลเฟรด โรเซินแบร์ก]])
** รัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง ([[คอนชตันทินค็อนสตันทีน ฟอนฟ็อน นอยรัทน็อยราท]], [[ฮันส์ ฟรังค์]], [[ฮยัลมาร์ ชัคท์]], [[อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท]])
* '''สำนักงานไรช์'''
** สำนักงาน[[แผนการสี่ปี|แผนสี่ปี]] (แฮร์มันน์ เกอริง)
** สำนักงานผู้ตรวจการทางหลวง
** สำนักงานประธานธนาคารไรช์
** สำนักงานความมั่นคงหลักไรช์ ([[ไรน์ฮาร์ดไรน์ฮาร์ท ฮายดริชไฮดริช]])
** สำนักงานพนักงานป่าไม้ไรช์ (แฮร์มันน์ เกอริง)
** สำนักงานเยาวชนไรช์
บรรทัด 287:
** อัมท์ โรเซนแบร์ก
 
=== รัฐบาลเฟลนส์บูร์กเฟล็นส์บวร์ค (1945) ===
[[ไฟล์:News. V.E. Day BAnQ P48S1P12270.jpg|thumb|''Montreal Daily Star'': "Germany Quit", 8 พฤษภาคม 2488 (ค.ศ. 1945)]]
 
คณะรัฐบาลเฟลนซบูร์กเฟล็นส์บวร์คเป็นรัฐบาลชั่วคราวของไรช์หลังวันที่ [[30 เมษายน]] 1945 [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ได้แต่งตั้งจอมพลเรือ [[คาร์ล เดอนิทซ์]] เป็นประธานาธิบดีไรช์ เดอนิทซ์ย้ายที่ทำการรัฐบาลจากกรุง[[เบอร์ลิน]]ไปยัง[[เฟลนส์บูร์กเฟล็นส์บวร์ค]] ใกล้กับชายแดนเยอรมนี-เดนมาร์ก เป้าหมายของเขาก็คือ การยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อกองทัพสัมพันธมิตรที่รุกมาทางตะวันตก มิใช่กับกองทัพโซเวียตผู้รุกรานมาทางทิศตะวันออก คณะรัฐบาลเฟลนซบูร์กเฟล็นส์บวร์คสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] 1945 และคณะรัฐมนตรีทั้งหมดถูกจับกุมตัวโดยกองทัพสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] 1945
 
คณะรัฐมนตรีแห่ง[[รัฐบาลเฟลนส์บูร์ก|รัฐบาลเฟลนซบูร์กเฟล็นส์บวร์ค]] ประกอบด้วย
 
* ประธานาธิบดี: จอมพลเรือ [[คาร์ล เดอนิทซ์]] (ควบตำแหน่งผู้บัญชาการสูงสุดแห่ง[[แวร์มัคท์]])
* [[ลุทซ์ กรัฟกราฟ ชเวรินชเวรีน ฟอนฟ็อน โครซิจค์รซิค]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นประธานคณะรัฐมนตรี
* [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ถูกปลดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 1945)
* [[อัลเฟรด โรเซินแบร์ก]] (ถูกปลดเมื่อวันที่ [[6 พฤษภาคม]] 1945)
* ดร. [[วิลเฮล์ม สทุคอาร์ท]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแทนฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์
* [[อัลแบร์ท ชเปียร์ชแปร์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและการผลิต
* ดร. [[เฮอร์เบิร์ต บัคเคอ]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาหาร กระทรวงเกษตรกรรมและป่าไม้
* ดร. [[ฟรานซ์ เชลตท์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและกิจการสังคม
บรรทัด 340:
เช่นเดียวกับการผสานความเชื่อทางการเมืองของฟาสซิสต์ เศรษฐกิจสงครามของนาซีเป็นเศรษฐกิจแบบผสมระหว่าง[[ตลาดเสรี]]กับการวางแผนจากส่วนกลาง นักประวัติศาสตร์ ริชาร์ด โอเวรี รายงานว่า "เศรษฐกิจเยอรมนีอยู่ระหว่างม้านั่งสองตัว ไม่มีการบัญชาเศรษฐกิจเพียงพอจะทำอย่างที่ระบบโซเวียตทำได้ แต่ก็ไม่เป็น[[ทุนนิยม]]เพียงพอจะพึ่งพาการสรรหาวิสาหกิจเอกชนอย่างของอเมริกา"{{sfn|Overy|1995|p=205}}
 
ค.ศ. 1942 หลังการเสียชีวิตของฟริทซ์ ทอดท์ ฮิตเลอร์แต่งตั้งสถาปนิกคนโปรด [[อัลแบร์ท ชเปียร์ชแปร์]] ให้บัญชาเศรษฐกิจภายในประเทศ<ref name="Inside the Third Reich: Memoirs"/> ชเปียร์ชแปร์สถาปนาเศรษฐกิจสงครามในนาซีเยอรมนี ซึ่งลดการบริโภคของพลเรือนและทำให้เศรษฐกิจสงครามมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<ref name="google1"/> จนถึงปี 1944 สงครามกิน 75% ของ[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]]เยอรมนี เทียบกับ 60% ในสหภาพโซเวียต 55% ในอังกฤษ และ 45% ของสหรัฐอเมริกา<ref name="Evans2008"/>
 
ลำดับความสำคัญสูงสุดตกแก่การผลิตเครื่องบินรบ ซึ่งมีการประสานงานอย่างเลวและพึ่งพาแรงงานฝีมือที่ขาดแคลนมากเกินไป ชเปียร์ชแปร์ทำให้การผลิตเพิ่มขึ้นมากหลังปี 1942 วิธีการของเขารวมถึงการจัดองค์การเส้นกระแส คือ การใช้เครื่องจักรวัตถุประสงค์เดี่ยวที่เดินโดยแรงงานไร้ฝีมือ การจัดสรรวิธีการผลิตให้เหมาะสม และการประสานงานที่ดีขึ้นระหว่างหลายรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากองค์ประกอบหลายหมื่นชนิด โรงงานถูกย้ายให้ห่างจากลานรถไฟซึ่งเป็นเป้าหมายการทิ้งระเบิด ท้ายสุด ระบบนี้ตามทันการผลิตของอังกฤษในปี 1944 แต่ถึงขณะนั้น ก็สายเกินไปและปริมาณแกโซลีนที่เหลืออยู่น้อยหมายความว่า เครื่องบินรบใหม่มีเวลาการบินสั้น<ref name="production"/><ref name="jstor"/>
 
[[ไฟล์:Lapanka zoliborz warszawa Polska 1941.jpg|thumb|230px|การล้อมจับพลเรือนแบบสุ่มเพื่อส่งไปใช้แรงงานเกณฑ์ในนาซีเยอรมนี]]
บรรทัด 355:
ในช่วงปลายสงคราม กองทัพสัมพันธมิตรได้รุกมาจากแนวรบตะวันตกและตะวันออกทำให้เยอรมนีต้องรับศึกอย่างหนักและปราชัยอย่างต่อเนื่อง ฮิตเลอร์ได้ทุ่มเททรัพยากรทั้งหมดที่มีนำไปใช้ในการป้องกันการรุกของฝ่ายสัมพันธมิตรและทำการวิจัยเทคโนโลยีต่างๆ เช่น [[ทีเกอร์ 2|รถถังทีเกอร์ 2]], [[จรวดวี-2]] และอื่นรวมไปถึงการวิจัยในการสร้างระเบิดปรมาณูเพื่อหาทางให้ได้มาซึ่งชัยชนะแก่อาณาจักรไรซ์ที่สามที่เขาสร้างมากับมือแต่ทว่ากลับต้องประสบความล้มเหลวและทรัพยากรก็ถูกล้างผลาญไปจนเกือบหมด
 
เมื่อวิกฤตของไรซ์ที่สามได้มาถึง เมื่อกองทัพสัมพันธมิตรได้รุกเข้าสู่เยอรมนีและกรุงเบอร์ลินถูกล้อม ฮิตเลอร์ได้ออกคำสั่งแก่อัลแบร์ท ชเปียร์ชแปร์ ให้ทำลายโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆทั้งหมดในกรุงเบอร์ลินและเยอรมนีเพื่อไม่ให้ไปตกอยู่ในมือของสัมพันธมิตร แต่ชเปียร์ชแปร์กลับขัดคำสั่งของฮิตเลอร์และแจ้งให้ฮิตเลอร์ทราบแต่ฮิตเลอร์กลับไม่ได้ต่อว่าและรู้สึกเฉยๆเหมือนกลับปลงทุกสิ่ง จนกระทั่งฮิตเลอร์กระทำอัตวินิบาตกรรมและเยอรมนียอมแพ้สงคราม โรงงานและอุตสาหกรรมต่างๆในเยอรมนีทั้งตะวันตกและตะวันออกถูกยึดครองโดยสี่ประเทศคือสหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณณรัฐฝรั่งเศล และสหภาพโซเวียต
 
== การทหาร ==
บรรทัด 383:
 
=== สวัสดิภาพสังคม ===
งานวิจัยล่าสุดโดยนักวิชาการเช่นเกิทซ์ อาลือ ได้เน้นบทบาทของโครงการสวัสดิภาพสังคมขนานใหญ่ของนาซีซึ่งมุ่งจัดหางานแก่พลเมืองเยอรมันและประกันมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำสุด ที่มุ่งเน้นอย่างหนัก คือ ความคิดชุมชนสัญชาติเยอรมันหรือ[[โฟลค์ซเกไมน์ชัฟท์]]{{sfn|Grunberger|1971|p=18}} เพื่อช่วยเพิ่มความรู้สึกของชุมชน ประสบการณ์กรรมกรและความบันเทิงของชาวเยอรมัน จากเทศกาล ถึงการเดินทางวันหยุดและโรงหนังกลางแปลง ทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ "[[ความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง]]" (Kraft durch Freude, KdF) การนำบริการกรรมกรแห่งชาติ (National Labour Service) และองค์การ[[ยุวชนฮิตเลอร์]]ไปปฏิบัติโดยบังคับให้เป็นสมาชิกสำคัญต่อการสร้างความจงรักภักดีและมิตรภาพ นอกเหนือจากนี้ ยังมีการดำเนินโครงการสถาปัตยกรรมจำนวนหนึ่ง คาเดเอฟสร้างคาเดเอฟวาเกน ที่ภายหลังรู้จักกันในชื่อ [[โฟล์คสวาเกน|โฟล์คซกาเวนฟ็อลคส์วาเกิน]] ("รถของประชาชน") ซึ่งได้รับการออกแบบมาให้เป็นรถยนต์ที่พลเมืองเยอรมันทุกคนสามารถซื้อได้ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุ รถดังกล่าวถูกแปลงเป็นพาหนะทางทหารและการผลิตฝ่ายพลเรือนถูกหยุดลง อีกโครงการแห่งชาติหนึ่ง คือ การก่อสร้างเอาโทบาน เป็นระบบถนนไม่จำกัดความเร็วแห่งแรกของโลก
 
การรณรงค์[[บรรเทาฤดูหนาว]]ไม่เพียงเป็นการรวบรวมเงินบริจาคแก่ผู้อาภัพเท่านั้น แต่ยังเป็นเสมือนพิธีกรรมเพื่อสร้างอารมณ์สาธารณะ{{sfn|Grunberger|1971|p=79}} ส่วนหนึ่งของการรวมศูนย์อำนาจนาซีเยอรมนี ใบปิดประกาศกระตุ้นให้ประชาชนบริจาคแทนที่จะให้ขอทานโดยตรง<ref name="conscience"/>
บรรทัด 397:
 
=== นโยบายเชื้อชาติ ===
 
เป็นที่ประจักษ์ว่าชุมชนยิวในเยอรมนีเป็นเป้าแห่งความเกลียดชังตั้งแต่การปราศรัยและงานเขียนแรก ๆ ของฮิตเลอร์ อุดมการณ์นาซีวางกฎเข้มงวดเกี่ยวกับว่าใครเป็นหรือไม่เป็นสายเลือด "อารยัน" บริสุทธิ์ มีการกำหนดการปฏิบัติเพื่อทำให้เชื้อชาติอารยันบริสุทธิ์ ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นหนึ่งเดียวกับ[[เชื้อชาตินอร์ดิก]] ตามด้วยเชื้อชาติรองที่เล็กกว่าของเชื้อชาติอารยันเพื่อเป็นตัวแทนของเชื้อชาติปกครองที่เป็นอุดมคติและบริสุทธิ์ ผลของนโยบายสังคมนาซีในเยอรมนีแบ่งแยกระหว่างผู้ที่ถูกมองว่าเป็น "อารยัน" กับ "มิใช่อารยัน" ยิว หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มชนกลุ่มน้อยอื่น สำหรับเชื้อชาติอารยัน การดำเนินโยบายสังคมจำนวนมากที่เอื้อประโยชน์ต่อคนกลุ่มนี้โดยระบอบนาซีเพิ่มขึ้นตามกาล รวมถึงการคัดค้านการสูบบุหรี่โดยรัฐ การล้างมลทินแก่เด็กอารยันที่เกิดแก่บิดามารดานอกสมรส เช่นเดียวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ครอบครัวเยอรมันอารยันที่ให้กำเนิดบุตร<ref name=Biddiscombe>Perry Biddiscombe "Dangerous Liaisons: The Anti-Fraternization Movement in the US Occupation Zones of Germany and Austria, 1945-1948", Journal of Social History 34.3 (2001) 611-647</ref> วันที่ 1 เมษายน 1933 ฮิตเลอร์ประกาศคว่ำบาตรสถานประกอบธุรกิจยิวทั้งประเทศ ครอบครัวยิวจำนวนมากเตรียมตัวออกนอกประเทศ แต่อีกหลายครอบครัวหวังว่าการดำรงชีพของพวกตนและทรัพย์สินจะปลอดภัย เพราะตนเป็นพลเมืองเยอรมัน
 
พรรคนาซีดำเนินนโยบายเชื้อชาติและสังคมผ่านการเบียดเบียนและการสังหารผู้ที่ถูกมองว่าเป็นผู้ที่สังคมไม่พึงปรารถนาหรือ "ศัตรูแห่งไรช์" ที่ตกเป็นเป้าพิเศษ คือ ชนกลุ่มน้อยเช่น ยิว [[โรมานี]] (หรือยิปซี) ผู้นับถือพยานพระยะโฮวาห์<ref>[http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10005394 United States Holocaust Memorial Museum]{{cite web | url = http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10005394 | title = ushmm.org | accessdate = 2007-08-15 | publisher = }}</ref> ผู้ที่มีความพิการทางจิตหรือทางกาย และพวก[[รักร่วมเพศ]] ในคริสต์ทศวรรษ 1930 แผนเพื่อโดดเดี่ยวและกำจัดยิวอย่างสมบูรณ์ในเยอรมนีท้ายสุด เริ่มจากการก่อสร้าง{{ไม่ตัดคำ|[[เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี|เกตโต]]}} ค่ายกักกัน และค่ายใช้แรงงาน โดยมีการก่อสร้าง[[ค่ายกักกันดาเชา]]เป็นแห่งแรกในปี 1933 เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์อธิบายอย่างเป็นทางการว่าเป็น "ค่ายกักกันศัตรูทางการเมืองแห่งแรก" <ref>จากหน้า http://www.mazal.org/archive/DACHPHO/Dach02.htm ซึ่งสามารถแปลได้ว่า: ''"หัวหน้าหน่วย[[ตำรวจ]]แห่งกรุง[[มิวนิก]], ฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์, ได้ออกประกาศตามหน้าหนังสือพิมพ์ว่า: เมื่อวันพุธที่ผ่านมา ค่ายกักกันแห่งแรกได้เปิดใช้งานที่ดาเชาโดยจัดให้มีนักโทษกว่า 5,000 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นพวกคอมมิวนิสต์และพวกไรช์บันเนอร์และเจ้าหน้าที่พรรคสังคมประชาธิปไตยผู้ซึ่งได้คุกคามความปลอดภัยของรัฐจะถูกจับกุมด้วยถ้าจำเป็น ซึ่งในระยะยาวแล้วมันเป็นไปไม่ได้ที่จะเก็บตัวนักโทษให้แยกจากกันในเรือนจำของรัฐ และบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถถูกปล่อยตัวได้เนื่องจากความพยายามของพวกเขาที่จะยืนกรานและเจตนาที่จะสร้างความวุ่นวายในประเทศ ทันทีที่พวกเขาได้รับการปล่อยตัว"''</ref>
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1970-083-42, Magdeburg, zerstörtes jüdisches Geschäft.jpg|thumb|230px|ร้านค้าที่ยิวเป็นเจ้าของกิจการถูกทำลายย่อยยับในเหตุการณ์คริสทัลล์นัคท์]]
เส้น 407 ⟶ 406:
นาซียังดำเนินโครงการที่พุ่งเป้าไม่ยังผู้ที่ "อ่อนแอ" หรือ "ไม่มีสมรรถภาพ" เช่น โครงการ[[อัคซีโยน เท4|การุณยฆาตเท4]] ซึ่งคร่าชีวิตผู้พิการและชางเยอรมันที่ป่วยหลายหมื่นคน ในความพยายามที่จะ "ธำรงความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติปกครองอารยัน" ({{lang-de|Herrenvolk}}) ดังที่นักโฆษณาของนาซีอธิบาย เทคนิคการสังหารจำนวนมากที่พัฒนาในความพยายามเหล่านี้ภายหลังถูกใช้ใน[[ฮอโลคอสต์]] ภายใต้กฎหมายที่ผ่านในปี 1933 ระบอบนาซีดำเนินการบังคับทำหมันปัจเจกบุคคล 400,00 คน ที่ถูกหมายว่ามีความบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งมีตั้งแต่การป่วยทางจิตไปจนถึงติดแอลกอฮอล์
 
อีกส่วนประกอบของโครงการสร้างความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติของนาซี คือ [[เลเบนซบอร์นเลเบินส์เราม์]] หรือ "น้ำพุแห่งชีวิต" ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 1935 โครงการดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ทหารเยอรมัน หรือเอสเอสเป็นหลักเอ็สเอ็สเป็นหลัก สืบพันธุ์ ซึ่งรวมถึงการเสนอบริหารสนับสนุนครอบครัวเอสเอสเอ็สเอ็ส (รวมถึงการรับเลี้ยงเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์เข้าสู่ครอบครัวเอสเอสเอ็สเอ็สที่เหมาะสม) และจัดหาที่อยู่ให้สตรีที่มีคุณค่าทางเชื้อชาติ ที่ตั้งครรภ์เด็กของชายเอสเอสเป็นหลักเอ็สเอ็สเป็นหลัก ในสถานพักฟื้นในเยอรมนีและทั่วยุโรปที่ถูกยึดครอง เลเบนซบอร์นเลเบินส์เราม์ยังขยายไปครอบคลุมการฝากเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์ที่บังคับยึดมาจากประเทศที่ถูกยึดครอง เช่น โปแลนด์ กับครอบครัวชาวเยอรมัน
 
ในปี 1941 เยอรมนีตัดสินใจทำลายชาติโปแลนด์อย่างสมบูรณ์และผู้นำเยอรมันตัดสินใจว่าในอีก 10 ถึง 20 ปี ชาวโปแลนด์ในรัฐโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมนีจะถูกกวาดล้างอย่างสมบูรณ์ และให้ผู้อยู่ในนิคมชาวเยอรมันเข้าไปตั้งถิ่นฐานแทน<ref name="Germans and Poles 1871–1945"/> นาซีมองว่า ยิว ชาวโรมานี ชาวโปแลนด์อยู่ในกลุ่มเดียวกับชนสลาฟ เช่น [[ชาวรัสเซีย]] [[ชาวยูเครน]] [[ชาวเช็ก]] และอีกหลายเชื้อชาติที่มิใช่ "ชาวอารยัน" ตามศัพทวิทยาเชื้อชาตินาซีร่วมสมัยเป็น[[อุนแทร์เมนเชน]]ด้อยมนุษย์ (''Untermensch-''"ต่ำกว่ามนุษย์") แม้ชนสลาฟจำนวนมากจะถูกมองและได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวอารยัน นาซีใช้เหตุผลตัดสินว่าชาวอารยันมีสิทธิทางชีววิทยาในการแทนที่ กำจัดและจับผู้ที่ด้อยกว่าเป็นทาส<ref name="neu"/><ref name="hanover"/> หลังสงคราม ภายใต้ "แผนใหญ่" [[เจเนรัลพลันโอสท์]] ({{lang-de|Generalplan Ost}}) คาดการณ์การเนรเทศประชากรที่ไม่สามารถถูกแผลงเป็นเยอรมัน (non-Germanizable) 45 ล้านคนจากยุโรปตะวันออกไปยังไซบีเรียตะวันตกล่วงหน้า<ref name="anthropology"/> และราว 14 ล้านคนจะยังอยู่ แต่จะถูกปฏิบัติเหมือนทาส<ref name="madajczyk"/><ref name="google19"/> ส่วนชาวเยอรมันจะตั้งถิ่นฐานแทนที่ในเลเบินส์เราม์ที่ต่อขยายไปของจักรวรรดิพันปี<ref name="JPop186"/>
 
[[แฮร์แบร์ท บาเคอ]]เป็นหนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลัง[[แผนความหิว]] (Hunger Plan) ซึ่งเป็นแผนให้ชนสลาฟหลายสิบล้านคนอดอยากเพื่อประกันเสบียงอาหารแก่ประชาชนและทหารเยอรมัน<ref name="destruction"/> ในระยะยาว นาซีต้องการกำจัดชนสลาฟราว 30–45 ล้านคน<ref name="google21"/> ตามข้อมูลของมิคาเอล ดอร์แลนด์ "ดังที่นักประวัติศาสตร์เยล ทีโมธี ซไนเดอร์เตือนเรา หากนาซีประสบความสำเร็จในสงครามกับรัสเซีย การนำอีกสองมิติของฮอโลคอสต์ไปปฏิบัติ แผนความหิวและเจเนรัลพลันโอสท์ จะนำไปสู่การกำจัดคนอีก 80 ล้านคนในเบลารุส รัสเซียเหนือและสหภาพโซเวียตผ่านความอดอยาก"<ref name="google22"/>
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-N0827-318, KZ Auschwitz, Ankunft ungarischer Juden.jpg|thumb|230px|ชาวยิวฮังการีที่จะถูกสังหารในห้องรมแก๊ส (พฤษภาคม 1944)]]
ต้นสงครามโลกครั้งที่สอง ทางการเยอรมนีในเจเนรัลกออูแวร์เนเมนท์ในโปแลนด์ที่ถูกยึดครองสั่งให้ยิวทุกคนถูกบังคับใช้แรงงาน และผู้ที่ด้อยสมรรถภาพทางกาย เช่น หญิงและเด็ก ถูกกักกันอยู่ในเกตโต{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} สำหรับนาซีแล้ว มีหลายแนวคิดปรากฏขึ้นว่าจะตอบ "[[ปัญหาชาวยิว]]" อย่างไร วิธีหนึ่ง คือ การบังคับเนรเทศยิวขนานใหญ่ อดอล์ฟ ไอชมันน์เสนอให้ยิวถูกบังคับอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ฟรันซ์ ราเดมาแคร์เสนอให้ยิวถูกเนรเทศไปยัง[[มาดากัสการ์]] ข้อเสนอนี้ได้รับการสนับสนุนโดยฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์ และมีการถกโดยฮิตเลอร์และผู้เผด็จการอิตาลี [[เบนิโต มุสโสลินี]] แต่ภายหลังล้มเลิกไปเพราะเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติเมื่อปี 1942{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ความคิดการเนรเทศต่อเนื่องไปยังโปแลนด์ที่ถูกยึดครองถูกผู้ว่าการ [[ฮันส์ ฟรังค์]]แห่งเจเนรัลกออูแวร์เนเมนท์ ปฏิเสธ เพราะแฟรงค์ปฏิเสธจะยอมรับการเนรเทศยิวมาเพิ่มยังดินแดนที่มียิวจำนวนมากอยู่แล้ว{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ในปี 1942 ที่[[การประชุมวันน์เซ]] เจ้าหน้าที่นาซีตัดสินใจกำจัดยิวทั้งหมด ดังที่อภิปราย "[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย]]" ค่ายกักกันเช่นเอาชวิทซ์ ถูกแปลงและใช้ห้องรมแก๊สเพื่อสังหารยิวให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ จนถึงปี 1945 ค่ายกักกันจำนวนหนึ่งถูกกองทัพสัมพันธมิตรปลดปล่อย และพวกเขาพบว่าผู้รอดชีวิตขาดอาหารอย่างรุนแรง ฝ่ายสัมพันธมิตรยังพบหลักฐานว่า นาซีค้ากำไรจากการสังหารหมู่ยิวไม่เพียงแต่โดยการยึดทรัพย์สินและสิ่งของมีค่าส่วนบุคคลแล้ว แต่ยังโดยการแยกสารอุดฟันทองคำจากร่างของยิวบางคนที่ถูกขังในค่ายกักกันด้วย
 
=== บทบาทของสตรีและครอบครัว ===
เส้น 430 ⟶ 429:
แม้บทบาทของสตรีในสังคมเยอรมันจะลดลงไปมาก แต่สตรีบางคนก็ยังมีบทบาทสำคัญ จนการยกย่องสรรเสริญและประสบความสำเร็จในชีวิต เช่น ฮันนา ไรท์ช นักบินประจำตัวฮิตเลอร์ และเลนี ไรเฟนสทาล ผู้กำกับภาพยนตร์และดารา
 
ในประเด็นกิจการทางเพศเกี่ยวกับสตรี บิดดิสคอมเบอแย้งว่า นาซีแตกต่างจากท่าทีจำกัดบทบาทของสตรีในสังคมอย่างมาก ระบอบนาซีสนับสนุนจรรยาบรรณเสรีนิยมที่คำนึงถึงประเด็นทางเพศ และเห็นใจสตรีที่เกิดลูกนอกสมรส<ref name="Biddiscombe2001"/> การล่มสลายของศีลธรรมคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในเยอรมนีถูกเร่งขึ้นระหว่างไรช์ที่สาม บางส่วนเป็นเพราะนาซี และส่วนใหญ่เนื่องมาจากผลของสงคราม การสำส่อนเพิ่มขึ้นมากเมื่อสงครามดำเนินไป ด้วยทหารที่ไม่แต่งงานมักสนิทสนมกับสตรีหลายคนพร้อมกัน สตรีที่สมรสแล้วมักข้องเกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับบุรุษหลายคนพร้อมกัน กับทั้งทหาร พลเรือนหรือผู้ใช้แรงงานทาส "หญิงดูแลไร่บางคนในเวือร์ทเทมแบร์กเริ่มใช้เพศสัมพันธ์เป็นโภคภัณฑ์แล้ว โดยจ่ายรสชาติเนื้อหนังมังสาเป็นวิธีการได้งานเต็มวันจากกรรมกรต่างด้าว"<ref name = "Biddiscombe2001"/> กระนั้น การโฆษณาชวนเชื่อนาซีคัดค้านการทำชู้และสนับสนุนความศักดิ์สิทธิ์ของการสมรสอย่างเปิดเผย<ref name="goddesses"/> ภาพยนตร์หลายเรื่องที่ถ่ายทำในสมัยนี้เปลี่ยนแปลงวัสดุที่มา ให้สตรีเผชิญความตายจากการละเมิดทางเพศแทนที่จะเป็นชาย สะท้อนให้เห็นว่าความผิดเป็นของใคร{{sfn|Grunberger|1971|p=382}} เมื่อมีความพยายามล้างมลทินแก่บุตรนอกกฎหมาย บ้านเลเบนซบอร์นเลเบินส์เราม์ถูกนำเสนอแก่สาธารณะสำหรับสตรีสมรสแล้ว{{sfn|Grunberger|1971|p=246}} ถ้อยแถลงต่อต้านการสมรสอย่างเปิดเผย เช่น ถ้อยแถลงของฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์เกี่ยวกับการดูแลเด็กนอกสมรสของทหารที่เสียชีวิต ได้รับการประท้วงเป็นเสียงตอบรับ<ref name="ghi-dc"/> อิลซา แมคคีหมายเหตุว่า การบรรยายของยุวชนฮิตเลอร์และเบเดเอ็มเกี่ยวกับความจำเป็นในการผลิตเด็กเพิ่มขึ้นเพิ่มจำนวนเด็กนอกกฎหมายอย่างมาก ซึ่งมารดาหรือบิดาที่เป็นไปได้ต่างไม่ถูกมองว่าเป็นปัญหา<ref name="intellectual"/>
 
การสมรสหรือความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างบุคคลที่ถูกมองว่าเป็น "อารยัน" กับผู้ที่ไม่ถูกจัดเป็นรัสเนชันเดอถูกห้ามและมีบทลงโทษ อารยันที่ถูกตัดสินว่ามีความผิดอาจถูกนำตัวไปกักขังในค่ายกักกัน ขณะที่ผู้ที่มิใช่อารยันอาจเผชิญโทษประหารชีวิต มีจุลสารสั่งให้สตรีเยอรมันทุกคนหลีกเลี่ยงเพศสัมพันธ์กับกรรมกรต่างด้าวทั้งหมดที่นำเข้ามาในประเทศเยอรมนีว่าเป็นอันตรายต่อเลือดของพวกเธอ{{sfn|Rupp|1978|pp=124–125}}
เส้น 442 ⟶ 441:
 
=== นโยบายการคุ้มครองสัตว์ ===
นาซีมีส่วนซึ่งสนับสนุนสิทธิสัตว์ สวนสัตว์และสัตว์ป่า<ref name="BHTFSN153"/> และดำเนินหลายมาตรการเพื่อประกันการคุ้มครองสัตว์<ref name="RA132"/> ในปี 1933 รัฐบาลตรากฎหมายคุ้มครองสัตว์ที่เข้มงวด<ref name="bmj"/><ref name="www_kaltio_fi5"/> ผู้นำพรรคนาซีหลายคน รวมทั้งฮิตเลอร์และเกอริง เป็นผู้สนับสนุนการคุ้มครองสัตว์ นาซีหลายคนเป็นนักสิ่งแวดล้อมนิยม (ที่โดดเด่น คือ [[รูดอล์ฟ เฮสส์]]) และการคุ้มครองสปีชีส์และสวัสดิภาพสัตว์เป็นประเด็นสำคัญในระบอบนาซี<ref name="NWC5"/> ฮิมม์เลอร์ฮิมเลอร์พยายามห้ามการล่าสัตว์{{sfn|Kitchen|2006|p=278}} เกอริงเป็นคนรักสัตว์และนักอนุรักษ์<ref name="HWJ79"/> กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ปัจจุบันในเยอรมนีก็รับมาจากกฎหมายที่ริเริ่มขึ้นในระบอบนาซี<ref name="RRNM92"/>
 
แม้มีการตรากฎหมายหลายฉบับเพื่อการคุ้มครองสัตว์ แต่ก็ขาดการบังคับใช้ ตามข้อมูลของพฟูแกร์สอาร์คิฟเฟือร์ไดเกซัมเทฟีซิโอโลจี (กรุสรีรวิทยาทั้งหมดพฟูแกร์ส) วารสารวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น มีการทดลองกับสัตว์หลายการทดลองระหว่างระบอบนาซี<ref name="SCGG90"/> ระบอบนาซียุบองค์การไม่เป็นทางการจำนวนหนึ่งที่สนับสนุนสิ่งแวดล้อมนิยมและการคุ้มครองสัตว์ เช่น เฟรนด์สออฟเนเจอร์<ref name="Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust"/>
เส้น 453 ⟶ 452:
ระบอบนาซีมุ่งฟื้นฟูค่านิยมดั้งเดิมในวัฒนธรรมเยอรมัน ศิลปวัฒนธรรมที่นิยามสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ถูกปราบปราม ทัศนศิลป์ถูกเฝ้าสังเกตอย่างเข้มงวดและเป็นแบบประเพณี เน้นยกตัวอย่างแก่นเยอรมัน ความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติ แสนยนิยม คตินิยมวีรบุรุษ อำนาจ ความเข้มแข็งและความเชื่อฟัง ศิลปะนามธรรมสมัยใหม่และ[[อาวองการ์ด|ศิลปะอาวองการ์ด]]ถูกนำออกจากพิพิธภัณฑ์ และถูกจัดแสดงเป็นพิเศษว่าเป็น "ศิลปะเสื่อม" ที่ซึ่งผลงานเหล่านี้จะถูกเยาะหยัน ในตัวอย่างที่โดดเด่นครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1937 ฝูงชนขนาดใหญ่ยืนเข้าแถวเพื่อชมการจัดแสดงพิเศษ "ศิลปะเสื่อม" ในมิวนิก รูปแบบศิลปะที่ถูกมองว่าเสื่อม มี[[คติดาด]] [[บาศกนิยม]] [[ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์]] [[คติโฟวิสต์]] [[ลัทธิประทับใจ]] [[ปรวิสัยใหม่]] และ[[ลัทธิเหนือจริง]] วรรณกรรมที่เขียนโดยชาวยิว ชนที่มิใช่อารยันอื่น พวกรักร่วมเพศหรือผู้ประพันธ์ที่คัดค้านนาซีจะถูกรัฐบาลทำลาย การทำลายวรรณกรรมที่ฉาวโฉ่ที่สุด คือ การเผาหนังสือโดยนักเรียนเยอรมันในปี 1933
 
แม้ความพยายามอย่างเป็นทางการในการสร้างวัฒนธรรมเยอรมันบริสุทธิ์ พื้นที่หลักหนึ่งของศิลปะและสถาปัตยกรรมภายใต้การชี้นำส่วนตัวของฮิตเลอร์เป็น[[ลัทธิคลาสสิกใหม่]] ซึ่งเป็นรูปแบที่อิงสถาปัตยกรรมโรมโบราณ รูปแบบนี้ขัดและค้านรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ใหม่กว่า เป็นเสรีนิยมกว่า และได้รับความนิยมกว่าในสมัยนั้นอย่าง[[อลังการศิลป์]] อาคารโรมันจำนวนมากได้รับการพิจารณาโดยสถาปนิกของรัฐ อัลแบร์ท ชเปียร์ชแปร์ สำหรับแบบสถาปัตยกรรมของอาคารรัฐ ชเปียร์ชแปร์ก่อสร้างอาคารขนาดมหึมาและโอ่อ่า เช่น ในลานชุมนุมพรรคนาซีในเนือร์นแบร์กและอาคาร[[ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์]]หลังใหม่ในกรุงเบอร์ลิน แบบหนึ่งที่ไม่ได้สร้างจริงเป็น[[พาร์เธนอน]]ในกรุงโรม เรียกว่า "โฟล์คชัลเลอ" เป็นศูนย์กลางกึ่งศาสนาของระบอบนาซีในกรุงเบอร์ลินที่เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "เยอรมาเนีย" ซึ่งจะเป็น "เมืองหลวงของโลก" (เวลเทาพท์สทัดท์) นอกจากนี้ ที่จะก่อสร้าง คือ ประตูชัยที่ใหญ่กว่าในกรุงปารีสหลายเท่า ซึ่งอาศัยแบบคลาสสิกเช่นกัน การออกแบบจำนวนมากสำหรับเยอรมาเนียไม่สามารถก่อสร้างได้จริง เพราะขนาดและดินเลนใต้กรุงเบอร์ลิน ภายหลัง วัสดุที่จะใช้ก่อสร้างถูกเปลี่ยนไปใช้ในความพยายามของสงครามแทน
 
=== ภาพยนตร์และสื่อ ===