ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุณหภูมิยังผล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Thammarith (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''อุณหภูมิยังผล''' ({{lang-en|Effective Temperature}}) ของวัตถุเช่นดาวฤกษ์หรือดาวเคราะห์คืออุณภูมิที่หาได้จากพลังงานทั้งหมดของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุดำ<ref>{{cite book | title = Astronomy | author = Archie E. Roy, David Clarke | publisher = CRC Press | year = 2003 | isbn = 9780750309172 | url = http://books.google.com/books?id=v2S6XV8dsIAC&pg=PA216&dq=%22effective+temperature%22+%22black+body%22+radiates+same&lr=&as_brr=0&as_pt=ALLTYPES&ei=kkRRSYyFFIuiyASqyIXDDw }}</ref> อุณหภูมิยังผลจะใช้บ่อยในการประมาณอุณหภูมิของวัตถุเมื่อไม่ทราบโค้งการแผ่รังสี ([[emissivity]] curve) (ที่เป็นฟังก์ชันของ[[ความยาวคลื่น]])
 
== ดาวฤกษ์ ==
== ดาวฤกษ์ ==(เปรียบเสมือนแสงทึ่มาจากดวงอาทิตย์มากระทบแผ่นศีรษะของกนกพงศ์แล้วสะท้อนมาเข้าตาสามารถนำมาใช้เป็นอาวุธชึวภาพได้เลยทึเดึยว)
[[ไฟล์:EffectiveTemperature 300dpi e.png|thumb|250px|อุณหภูมิยังผลหรืออุณหภูมิวัตถุดำของ[[ดวงอาทิตย์]](5777 K) คืออุณหภูมิของวัตถุดำที่ให้ผลลัพธ์เท่ากับกำลังการแผ่รังสีทั้งหมด]]
อุณหภูมิยังผลของดาวฤกษ์คืออุณหภูมิของวัตถุดำที่มีฟลักซ์พื้นผิว (<math>\mathcal{F}_{Bol}</math>) เป็นไปตาม[[กฎของสเตฟาน-โบลทซ์มาน]] <math>\mathcal{F}_{Bol}=\sigma T_{eff}^4</math>. เมื่อกำลังส่องสว่างของดาว <math>L=4 \pi R^2 \sigma T_{eff}^4</math>, เมื่อ <math>R</math> คือรัศมีของดาว <ref>{{cite book